Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45864
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชีพ พุทธประเสริฐ-
dc.contributor.advisorยงยุทธ ยะบุญธง-
dc.contributor.authorณัฐพล นันโทen_US
dc.date.accessioned2018-03-13T07:12:58Z-
dc.date.available2018-03-13T07:12:58Z-
dc.date.issued2557-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45864-
dc.description.abstractThe objective for this independent study is to study the development of uniqueness of educational institutes in Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3 and to study the guideline for developing uniqueness of educational institutes in Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3. The sample used in the study was the unique educational institutes which are under Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3. The tools for this study were interview, group discussion, and guideline examination form. From the study, it was found that the development of uniqueness of the unique educational institutes was made by creating awareness and participation to the strategy plan, having supervisions plan for procedure plan of the administrator and planning division. The evaluation of satisfaction of the involving inside the educational institutes was made in parents and guardian meeting and the basic educational committee meeting including to the activity project procedure of the educational institutes as annually fair. All those meetings and activities will have the satisfaction evaluation from the parents and guardians, the teachers, the communities and the students and the evaluation had been supported continuously through the projects or activities which were in annually procedure of the educational institutes. About the factors which made the educational institutes unique were from the cooperation of the people inside and outside of the educational institute, the communities and people in other sectors. They all are willing to support the educational institutes to maintain the uniqueness with the institutes ever after. About the guideline for developing uniqueness of educational institutes in Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3, it was found that the planning section provided opportunity to the parents and guardians to express their opinions then the section collected them as data for future planning. The section also appointed some experts as the advisor of each section and had the advisors participated in the meeting of setting strategy and making of annually procedure plan. About the procedure, there were the appointments of people who would be responsible for each strategy. The procedure must be according to the skill of the people, who are responsible to, to reach the stronger system so all of responsible people must have true knowledge involving their responsibility. About the evaluation, there are always the supervisions for the project and planning to evaluate the satisfaction periodically to have more time to improve the satisfaction. About the procedure, there are procedure reports step by step to get the true distinctive point of the educational institutes. The reports also cover the achievement of person, section, sector, and school to get the true distinctive point. About the present uniqueness of the educational institutes must be according to the true context of the institutes. There is the publishing of handbook of guideline for developing uniqueness of educational institutes and the exchanging to the other institutes. There is always the evaluation for the uniqueness of the educational institutes, person, students and involving sectors. The possibility examination result was appropriate. The usage of the guideline for developing uniqueness of educational institutes in Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3 was found that it was in the highest level in every ways of evaluation and had the mean value over the determined standards for 3 levels.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเอกลักษณ์ของสถานศึกษาen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาเอกลักษณ์ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3en_US
dc.title.alternativeGuideline for Developing Uniqueness of Educational Institutes in Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนประถมศึกษา -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาขั้นประถม-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 372 ณ113น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการพัฒนาเอกลักษณ์ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 3และเพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาเอกลักษณ์สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 3กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ได้แก่สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 3 ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นเครื่องมือที่ใช้คือแบบสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และแบบตรวจสอบแนวทางผลจากการศึกษาพบว่าการพัฒนาเอกลักษณ์ของสถานศึกษาของสถานศึกษาที่โดดเด่นเกิดขึ้นจากการสร้างความตระหนักและมีส่วนร่วมในการให้ความสำคัญกับแผนกลยุทธ์ มีการนิเทศติดตามตามแผนปฏิบัติการของฝ่ายบริหารและฝ่ายแผน ส่วนการประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในสถานศึกษาใช้วิธีการประชุมผู้ปกครองนักเรียน และการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งการประเมินการดำเนินกิจกรรมโครงการของสถานศึกษาโดยจัดเป็นงานประจำปี โดยมีการประเมินพึงพอใจจากผู้ปกครอง ครู ชุมชนและตัวนักเรียน นอกจากนี้ยังได้รับการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องโดยจัดทำเป็นโครงการหรือกิจกรรมบรรจุไว้ในแผนปฏิบัติการประจำปี ส่วนปัจจัยที่ทำให้สถานศึกษาโดดเด่น มาจากความร่วมมือร่วมใจของคนทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ชุมชน ตลอดจนประชาคมส่วนต่างๆทำให้ได้รับการยอมรับจากคนในชุมชนและสังคมภายนอก ตลอดจนได้รับการสนับสนุนจากภายนอกให้ธำรงรักษาเอกลักษณ์นั้นไว้กับสถานศึกษาตลอดไป แนวทางในการพัฒนาเอกลักษณ์สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 3 พบว่า ด้านการวางแผน มีการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองนักเรียนแสดงความคิดเห็น เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน มีการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นที่ปรึกษาฝ่ายงานต่าง ๆ และให้ที่ปรึกษามีบทบาท มีการประชุมเพื่อกำหนดกลยุทธ์ การทำแผนปฏิบัติการประจำปี ในด้านการปฏิบัติ มีการคัดเลือกและมอบหมายผู้รับผิดชอบในแต่ละกลยุทธ์ และการปฏิบัติต่างๆ ตามความถนัดและเหมาะสม เพื่อให้ได้ระบบที่เข้มแข็ง ได้ผู้รับผิดชอบที่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆอย่างถ่องแท้ ด้านการประเมิน มีการกำกับติดตามตามแผนงานและโครงการอยู่เสมอ เพื่อตรวจสอบระดับความพึงพอใจเป็นระยะ ๆ เพื่อจะได้มีเวลาในการปรับปรุงความพึงพอใจเพิ่มขึ้นส่วนผล การดำเนินงาน มีการรายงานผลการดำเนินการอย่างเป็นขั้นเป็นตอน เพื่อให้ได้มาซึ่งจุดเด่นจุดเน้นของสถานศึกษา ตั้งแต่การรายงานความสำเร็จส่วนบุคคล ระดับงาน ระดับฝ่าย จนมาถึงระดับโรงเรียน เพื่อให้ได้จุดเด่นและจุดเน้นที่เป็นจริง ส่วนเอกลักษณ์สถานศึกษาที่ได้มาต้องเป็นไปตามบริบทของสถานศึกษา สมควรตามฐานะและเป็นตัวตนของสถานศึกษาอย่างแท้จริง นอกจากนั้นยังมีการจัดทำคู่มือแนวทางการพัฒนาเอกลักษณ์ของสถานศึกษา มีการแลกเปลี่ยนกับสถานศึกษาอื่นๆ มีการประเมินเอกลักษณ์ของสถานศึกษาเป็นประจำ และย้ำเตือนทำกับบุคลากร นักเรียน และภาคส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง ผลการตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และการนำไปใช้ประโยชน์ของแนวทางพัฒนาเอกลักษณ์ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 3 พบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้านและมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ที่ระดับ 3en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT163.89 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdfAPPENDIX625.71 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 1256.32 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2349.51 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3248.88 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdf CHAPTER 4357.07 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5234.97 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT163.54 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdf COVER650.44 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE208.54 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.