Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45841
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระพร ศุทธากรณ์-
dc.contributor.authorนงนุช ปาเกี๋ยงen_US
dc.date.accessioned2018-03-13T02:40:28Z-
dc.date.available2018-03-13T02:40:28Z-
dc.date.issued2557-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45841-
dc.description.abstractHairdressers are informal workers whose working characteristics and working condition may affect their health. This study aims to explore health belief and hazardous protective behaviors of work among hairdressers in Ban Klang Sub- District, Lamphun province. Study participants were 150 hairdressers in this area. Study tools composed of self-administration questionnaire including general information, health data, working characteristic, working conditions, health belief, and hazardous protective behaviors of health. The questionnaire were developed based on literature review and obtained acceptable content validity and reliability (CVI = 0.83 and conbach coefficient alpha = 0.80) Study found that these hairdressers had total health belief score in moderate, high, and low levels of 72, 16, and 12 percentages, respectively. Female hairdressers had higher total health belief scores than males, and also perceived risks of musculoskeletal injuries and perceived benefits of working protective behaviors better than males (p<0.05). Moreover, education level was related to perception of risk to musculoskeletal injuries. Obtaining occupational health information and working duration more than 8 hours were related to perception of heath benefit about getting rid of used sharp devices. Finally, having medical condition such as allergies was related to perception of severity of chemical used. The amount of participants who had scores of total health protective behaviors in moderate, high, and low level were 62.7, 22.7, and 14.6 percentages, respectively. Female hairdressers had better scores of health protective behaviors than males (p<0.05). Having health problems in respiratory and skin systems was related to protective behaviors. Being engaged in former work was related to health protective behavior. And finally, having musculoskeletal health problems was also related to ergonomic protective behavior such as doing muscle flexibility exercise during work. These findings could be used in planning for the occupational health promotion and protection in order to prevent health effects among these hair dressers.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectช่างทำผมen_US
dc.subjectสุขภาพen_US
dc.subjectพฤติกรรมการป้องกันอันตรายen_US
dc.titleความเชื่อด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันอันตราย จากการทำงานของผู้ประกอบอาชีพช่างทำผม ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeHealth Beliefs and Hazardous Protective Behavior of Work Among Hairdressers in Ban Klang Sub-district, Mueang District, Lamphun Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc613-
thailis.controlvocab.thashสุขภาพ-
thailis.controlvocab.thashร้านเสริมสวย -- สุขภาพและอนามัย-
thailis.controlvocab.thashร้านเสริมสวย -- ลำพูน-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 613 น125ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractผู้ประกอบอาชีพช่างทำผม จัดเป็นแรงงานนอกระบบ ซึ่งมีลักษณะการทำงานและสภาพการทำงาน ที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ทำงานได้ การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเชื่อด้านสุขภาพ และพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการทำงาน ของผู้ประกอบอาชีพช่างทำผม ในพื้นที่ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน จำนวน 150 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลการทำงาน ความเชื่อด้านสุขภาพ และพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการทำงาน ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น และจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง และตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา จากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน และได้ค่าความตรงของเนื้อหา (CVI) เท่ากับ 0.83 และหาความเชื่อมั่นของเครื่องมือ (Reliability) โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของ ครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) เท่ากับ 0.80 ผลการศึกษาพบว่า ความเชื่อด้านสุขภาพโดยรวม ของผู้ประกอบอาชีพทำผม อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 72 ระดับสูง ร้อยละ 16 และอยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 12 โดยเพศหญิง มีระดับการรับรู้ตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพโดยรวม การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายในระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ และการรับรู้ประโยชน์จากพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการทำงาน มากกว่า เพศชาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) นอกจากนี้ ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับการรับรู้โอกาสเสี่ยงจากการทำงานด้านระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ ส่วนการได้รับข้อมูลข่าวสารโรคจากการประกอบอาชีพ และระยะเวลาการทำงานที่มากกว่า 8 ชั่วโมงขึ้นไป มีความสัมพันธ์กับ การรับรู้ประโยชน์ด้านการจัดเก็บ อุปกรณ์ของมีคมที่ใช้แล้ว และการที่มีโรคประจำตัว เช่น ภูมิแพ้ มีความสัมพันธ์กับ การรับรู้ความรุนแรงของสารเคมีเคมีที่ในการทำงาน สำหรับระดับคะแนนพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการทำงานโดยรวม ของผู้ประกอบอาชีพทำผม พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 62.7 ระดับสูง ร้อยละ 22.7 และระดับต่ำ ร้อยละ 14.6 โดยพบว่า เพศหญิง มีพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากทำงานได้ดีกว่าเพศชาย (p<0.05) และพบความสัมพันธ์ระหว่าง การเป็นโรคประจำตัว เช่น ภูมิแพ้ และ อาการผิดปกติในระบบผิวหนัง กับ พฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการทำงาน ทางด้านเคมี ส่วนการประกอบอาชีพอื่นมาก่อน มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการทำงาน และ สุดท้าย การที่มีอาการผิดปกติของ ระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากทำงานด้าน การยศาสตร์ เช่น การยืดเหยียดกล้ามเนื้อในขณะทำงาน ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำข้อมูลที่ได้ไปวางแผนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ เพื่อป้องกันผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพช่างทำผม ต่อไป  en_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT244.73 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX825.95 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1240.73 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2487.04 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3316.13 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4576.79 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5322.79 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT246.01 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER639.9 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdf REFERENCE281.67 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.