Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40008
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อ.ดร.ไพรัช พิบูลย์รุ่งโรจน์ | - |
dc.contributor.advisor | อ.ดร.อนุภาค เสาร์เสาวภาคย์ | - |
dc.contributor.advisor | ผศ.ดร.ชูเกียรติ ชัยบุญศรี | - |
dc.contributor.author | ยุวธิดา ปันปิน | en_US |
dc.date.accessioned | 2017-08-30T07:35:10Z | - |
dc.date.available | 2017-08-30T07:35:10Z | - |
dc.date.issued | 2558-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40008 | - |
dc.description.abstract | The purpose of the research is to study structure and economic value added in the Logan Supply Chain. The study also explores other factors which may affect Logan Farmer decision making to processed Logan it was focused on analysis of causal structural relationship model between variables within the structural equation model by analyzing elements with linear structural model to study relationship between external latent variables (General factor of Longan farmer such as sex age education area and size) and internal latent factor (marginal benefit and marginal cost factor). The data used in this study is a primary data obtained from collecting questionnaire from the Longan Farmer who in Lamphun Ministry of Agriculture and Cooperative System, totaling 450 samples. The study result revealed that perceived impact on environment, logistics and trust significantly affect the resident support (p < 0.05). An analysis estimate indicator of Marginal Benefit shown Longan Farmer concern mainly is factor to solve the unemployed problem. Second is factor to have a new product and factor to have an experience. An analysis estimate indicator of Marginal Cost shown Longan Farmer concern mainly is factor capital. Second is factor equipment to use for processed Longan and factor the increase production process. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐศาสตร์ | en_US |
dc.subject | ลำไย | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์มูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ในห่วงโซ่อุปทานลำไยแปรรูป | en_US |
dc.title.alternative | An Analysis of Economic Value Added in the Processed Longan Supply Chain | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 332.6322 | - |
thailis.controlvocab.thash | มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐศาสตร์ | - |
thailis.controlvocab.thash | มูลค่าเพิ่ม | - |
thailis.controlvocab.thash | ลำไย | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว 332.6322 ย474ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาการวิเคราะห์มูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ในห่วงโซ่อุปทานลำไยแปรรูป มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างห่วงโซ่อุปทานและมูลค่าเพิ่มที่เกิดภายในห่วงโซ่อุปทานลำไย แปรรูป รวมไปถึงศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการแปรรูปลำไยของเกษตรกรชาวสวนลำไย โดยการศึกษาครั้งนี้ได้มุ่งเน้นวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์ของโครงสร้างเชิงสาเหตุระหว่าง ตัวแปรต่าง ๆ ภายในแบบจำลองสมการโครงสร้าง (Structural Equation Model) โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบด้วยแบบจำลองโครงสร้างเชิงเส้นเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรภายนอก (ปัจจัยทั่วไปของเกษตรกรลำไย ได้แก่ อายุ เพศ การศึกษา พื้นที่ในการเพาะปลูก และขนาดการผลิต) และตัวแปรแฝงภายใน (ปัจจัยทางด้านผลตอบแทนส่วนเพิ่มและต้นทนส่วนเพิ่ม)โดยข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นข้อมูลปฐมภูมิซึ่งได้จากการเก็บแบบสอบถามจากเกษตรกรชาวสวนลำไยจังหวัดลำพูนจำนวน 450 ตัวอย่าง จากผลการศึกษาแบบจำลองที่พัฒนามีความสอดคล้องทางสถิติกับข้อมูลมากกว่าร้อยละ 95 (CFI/TLI) พบว่าตัวแปรที่มีอิทธิพลณระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ต่อการตัดสินใจแปรรูปลำไยผลจากการวิเคราะห์ตัวชี้วัดระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ลำไยด้านประโยชน์ส่วนเพิ่มพบว่าเกษตรกรมีความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ส่วนเพิ่มจากการแปรรูปลำไย ลำดับที่ 1 คือ แก้ไขปัญญาว่างงานได้รองลงมาลำดับที่ 2 คือผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น และลำดับที่ 3 คือ ประสบการณ์เพิ่มขึ้นผลจากการวิเคราะห์ตัวชี้วัดระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ลำไยด้านต้นทุนส่วนเพิ่มพบว่า ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ลำไยด้านต้นทุนส่วนเพิ่มมากที่สุด ในลำดับที่ 1.คือเงินทุนรองลงมาลำดับที่ 2.คือเครื่องจักรในการแปรรูปและลำดับที่ 3.คือกระบวนการผลิตเพิ่มขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 173.27 kB | Microsoft Word XML | View/Open |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 193.96 kB | Adobe PDF | View/Open |
FULL.pdf | Full IS | 3.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.