Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39932
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorDr.Nattawit Promma-
dc.contributor.authorNad Sirorosen_US
dc.date.accessioned2017-08-24T04:09:17Z-
dc.date.available2017-08-24T04:09:17Z-
dc.date.issued2014-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39932-
dc.description.abstractBiocompatible material called scaffold helps patient suffering from skin loss or skin disorder such as burn and ulcer. The scaffold allows the wound healing process to occur in suitable condition and heal faster. Gelatin and Carboxymethylcellulouse (CMC) were selected for scaffold fabrication where gelatin was mixed with CMC to strengthen the porous structure. Freeze drying method was used to form porous structure of the scaffold. Moreover, the scaffolds were further strengthed using dehydrothermal technique and chemical (EDC/NHS) crosslinking. The gelatin-CMC ratio was 100:0, 90:10, 80:20, 70:30, and 60:40. Since the scaffold has porous structure, the behavior of the material is foam-like hyperelastic material. The characterization of the material can be separated into two parts which are physical (characterization) and mechanical characterizations. The physical characterization, in this research, is to find an average pore size of the scaffold using scanning electron microscopy (SEM). The results show that the scaffold has pore size ranged between 117 µm to 197 µm which is in the appropriate range of the scaffold. For the mechanical characterization, at this stage, identification of material parameter, in this case, shear modulus were determined. Since the scaffold is hyperelastic material, the large deformation theory has been used to derive the constitutive equation to obtain the engineering stress equation in the form of Blatz-Ko hyperelastic model. The stress-strain curve was obtained from compressing test. The curve fitting method was used to identify the shear modulus of the scaffold. As a result, the 80:20 gelatin-CMC ratio scaffolds with chemical treatment has the highest shear modulus at 28.12±8.43 kPa. From the results, there are insignificant differences between non-treatment and dehydrothermal treatment scaffold. Two phenomenons which are the porous structure failure of chemically treated 90:10 gelatin-CMC scaffold and unchanged of shear modulus of 60:40 gelatin-CMC scaffolds must be further investigated.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectTissue engineeringen_US
dc.titleParameters Analysis of Gelatin-carboxymethylcellulose Scaffolds Using Curve Fitting Methoden_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์หาค่าพารามิเตอร์ของวัสดุโครงเลี้ยงเซลเจลาติน-คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส โดยใช้วิธีการปรับเส้นโค้งen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc610.28-
thailis.controlvocab.lcshTissue engineering-
thailis.controlvocab.lcshBiomedical engineering-
thailis.controlvocab.lcshPolymers-
thailis.manuscript.callnumberTh 610.28 N126P-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัสดุโครงเลี้ยงเซลล์ (ผิวหนัง) เป็นวัสดุที่ช่วยให้ผู้ป่วยที่สูญเสียผิวหนังไม่ว่าจะเป็นจากโรคผิวหนังหรืออาการบาดเจ็บ เช่น แผลไฟไหม้ เป็นต้น โครงเลี้ยงเซลล์จะช่วยรักษาให้แผลอยู่ในสภาวะที่เหมาะสมแก่การฟื้นตัวและส่งผลให้บาดแผลหายเร็วขึ้น วัสดุที่ใช้ในการทำโครงเลี้ยงเซลคือ เจลาติน (gelatin) และ คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส (Carboxymethylcellulose) โดยคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสถูกใช้เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของโครงสร้าง วิธีการ Freeze Drying ถูกใช้เพื่อสร้างโครงสร้างของรูพรุนของโครงเลี้ยงเซลล์ ส่งผลให้วัสดุโครงเลี้ยงเซลล์นี้เป็นวัสดุไฮเปอร์อิลาสติก (hyperelastic material) และมีพฤติกรรมเปรียบเสมือนโฟม นอกจากนี้ยังมีการใช้เทคนิคดีไฮโดรเทอร์มอล (dehydrothermal) และ กรรมวิธีทางเคมีโดยใช้ EDC และ NHS เพื่อทำให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ (crosslinking) โดยทั้งสองกรรมวิธีจะช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงของโครงสร้างเช่นกัน วัสดุโครงเลี้ยงเซลล์ถูกขึ้นรูปโดยมีอัตราส่วนผสมระหว่างเจลาตินและคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสดังนี้ 10:0, 90:10, 80:20, 70:30 และ 60:40 การหาคุณลักษณะของวัสดุสามารถแยกได้เป็นสองคุณลักษณะคือ คุณลักษณะทางกายภาพและคุณลักษณะเชิงกล ลักษณะทางกายภาพในงานวิจัยนี้คือการหาขนาดเฉลี่ยของรูพรุนของโครงเลี้ยงเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning Electron Microscopy: SEM) หลังจากได้ทำการวัดขนาดและหาค่าเฉลี่ยของรูพรุนทั้งหมด ผลลัพธ์ที่ได้คือโครงเลี้ยงเซลล์มีขนาดของรูพรุนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 117 ไมโครเมตรถึง 197 ไมโครเมตร ซึ่งอยู่ในช่วงที่เหมาะสมสำหรับโครงเลี้ยงเซลล์ ในส่วนของคุณลักษณะเชิงกลสามารถหาได้โดยค่าพารามิเตอร์ที่ต้องการในกรณีนี้คือโมดูลัสของแรงเฉือน (shear modulus) เนื่องจากโครงเลี้ยงเซลล์เป็นวัสดุไฮเปอร์อิลาสติก Large Deformation Theory ได้ถูกนำมาใช้เพื่อสร้างสมการความเครียดในรูปแบบของแบบจำลอง Blatz-Ko จากการทดสอบการกดโครงเลี้ยงเซลล์แต่ละชิ้นจะได้เส้นโค้งความเค้น-ความเครียด (stress-strain curve) และนำไปหาค่าพารามิเตอร์ของวัสดุโดยวิธีการปรับเส้นโค้ง จากการปรับเส้นโค้งพบว่า โครงเลี้ยงเซลล์ที่มีอัตราส่วน เจลาตินต่อคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส 80:20 ที่ผ่านกรรมวิธีทางเคมี ให้คือโมดูลัสของแรงเฉือนสูงสุดที่ 28.12 ± 8.43 กิโลปาสกาล (kPa) สำหรับโครงเลี้ยงเซลล์ที่ไม่ผ่านกระบวนการเสริมความแข็งแรงและโครงเลี้ยงเซลล์ที่ผ่านกระบวนการดีไฮโดรเทอร์มอลขนาดของรูพรุนไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ในกรณีของโครงเลี้ยงเซลล์ที่มีอัตราส่วนเจลาตินต่อคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส 90:10 ที่ผ่านกรรมวิธีทางเคมี ได้เกิดการยุบตัวของโครงสร้าง และกรณีของโครงเลี้ยงเซลล์ที่มีอัตราส่วนเจลาตินต่อคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส 60:40 ที่โมดูลัสของแรงเฉือนไม่เปลี่ยนแปลงตามกระบวนการเสริมโครงสร้างนั้นจะต้องได้รับการศึกษาในเชิงลึกต่อไปen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf8.06 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.