Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39824
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนฤนาถ ศราภัยวานิช-
dc.contributor.authorผุสดี สีแสงen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T14:23:10Z-
dc.date.available2016-12-12T14:23:10Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39824-
dc.description.abstractThe objective of this independent study was to evaluate the Government Fiscal Management Information System (GFMIS) of Government Offices in Phrae Province. The research sample for this study were 212 members of staff who consisted of Chief of Government Offices, Chief of Accounting and Financing and staff who were involved with the GFMIS. Data were collected through of questionnaires, then, analyzed by the use of descriptive statistics consisting of frequency, percentage and mean. The findings showed that most staff who were involved with the GFMIS were 51-60 years old. They graduated in accounting and other major in equal, working within the government for 1-5 years, and trained on GFMIS on average once per year. There are 4 fields on evaluations: context, input, process, and product. The questionnaire’s answers evaluated in high level for every fields, sort these in order of context, product, input, and process. The respondents concluded that the most appropriate content were the suitability of the system; with the least appropriate content were the economic factors. The respondents concluded that the most appropriate input factors were the staff; with the least appropriate input factors being the equipment. The respondents concluded the most appropriate process factors were commanding; with the least appropriate process factors being planning. For GFMIS system process, the respondents who worked in GFMIS system concluded that the most appropriate GFMIS system process were payment system; with the least appropriate GFMIS system process were the costs. Respondents evaluated the most appropriate product factors were GFMIS in order to help monitor the data; the least appropriate product factors were GFMIS to help reduce the burden for the official.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.subjectส่วนราชการen_US
dc.titleการประเมินผลระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการในจังหวัดแพร่en_US
dc.title.alternativeEvaluation of government fiscal management information system of government offices in Phare Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc332.4-
thailis.controlvocab.thashการเงิน -- การบริหาร-
thailis.controlvocab.thashการคลัง -- การบริหาร-
thailis.controlvocab.thashส่วนราชการ -- แพร่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 332.4 ผ484ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการในจังหวัดแพร่ ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือ หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้ากลุ่มงานในระบบระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ Government Fiscal Management Information System (GFMIS) และ ผู้ปฏิบัติงานในระบบ GFMIS โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก ซึ่งการศึกษาได้เก็บรวบรวมข้อมูลจำนวน 212 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ทำงานอยู่ในตำแหน่ง ผู้ปฏิบัติงานในระบบ GFMIS อยู่ในช่วงอายุ 51-60 ปี ศึกษาสูงสุดในระดับปริญญาตรี สาขาการบัญชี และสาขาอื่นในจำนวนเท่ากัน ปฏิบัติงานในส่วนราชการทั้งหมด และในตำแหน่งปัจจุบัน 1-5 ปี เคยอบรมเกี่ยวกับการดำเนินงานในระบบ GFMIS โดยเฉลี่ย 1 ครั้งต่อปี จากการประเมินผลสภาวะแวดล้อม ปัจจัยเบื้องต้น กระบวนการ และผลผลิตของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการในจังหวัดแพร่ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามประเมินผลในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับคือ สภาวะแวดล้อม ผลผลิต ปัจจัยเบื้องต้น และกระบวนการ สำหรับรายละเอียดย่อยในการประเมินผลแต่ละด้านพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามประเมินผลดังนี้ สภาวะแวดล้อม ผู้ตอบแบบสอบถามประเมินผลว่าด้านความเหมาะสมของระบบมีความเหมาะสมเป็นลำดับแรก และประเมินผลว่าด้านเศรษฐกิจมีความเหมาะสมเป็นลำดับสุดท้าย ปัจจัยเบื้องต้น ผู้ตอบแบบสอบถามประเมินผลว่าด้านบุคลากรมีความเหมาะสมเป็นลำดับแรก และประเมินผลว่าด้านวัสดุอุปกรณ์มีความเหมาะสมเป็นลำดับสุดท้าย กระบวนการ ผู้ตอบแบบสอบถามประเมินผลว่าด้านการสั่งการมีความเหมาะสมเป็นลำดับแรก และประเมินผลว่าด้านการวางแผนมีความเหมาะสมเป็นลำดับสุดท้าย กระบวนการของระบบงานสำหรับผู้ปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานประเมินว่า ระบบการเงินและบัญชี มีความเหมาะสมเป็นลำดับแรก และประเมินผลว่า ระบบบัญชีต้นทุนมีความเหมาะสมเป็นลำดับสุดท้าย ผลผลิต ผู้ตอบแบบสอบถามประเมินผลว่าเรื่องที่มีความเหมาะสมเป็นลำดับแรกคือเรื่อง ระบบ GFMIS สามารถตรวจสอบติดตามข้อมูลได้ และประเมินผลว่าเรื่องที่มีความเหมาะสมเป็นลำดับสุดท้าย คือเรื่อง ระบบ GFMIS ช่วยลดภาระในการจัดทำเอกสารของส่วนราชการen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT163.97 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX535.12 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1238.28 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2441.97 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3311.41 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 41.15 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5414.4 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT265.18 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER578.51 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE235.44 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.