Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39798
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลงกรณ์ คูตระกูล-
dc.contributor.authorถนอมศรี ปะระมะen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T13:22:11Z-
dc.date.available2016-12-12T13:22:11Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39798-
dc.description.abstractThis study aimed at analyzing the knowledge management of the quality of life development project (Wandering Dhamma) in Saraphi District, Chiang Mai Province, and the roles of local administration, institutes, and organizations related to the project. In addition, it aimed at studying the participation of peoplein any activities according to the quality of life development project (Wandering Dhamma) for the case study in Yang Noeng Sub-district, Saraphi District, Chiang Mai Province. The study aimed to study and interviewmonks, novices, mayors, leaders (sub-district headmen and village headmen), and people who attended in the project as a target group. Therefore, there were 20 people including 4 monks, a mayor of Yang Noeng sub-district, 3 leaders, and 12 people who participated in the project. Furthermore, this was a qualitative research.Tools of the study were related concepts, theories, literatures, local context studying, and observation. In addition, questionnaires were used as guidelines for interviewing target group. Results from the study found that the knowledge management of the quality of life development project (Wandering Dhamma) in Saraphi District, Chiang Mai Province can be organized and continuously operated because knowledge management of monks, related organizations, roles of leaders, participation of people, and people’ lifestyles support activities which were based from the past, belief, and faith. Moreover, the operation corresponded with the national economic and social development plan issue number 1, and development strategy on province, district, ministry, and related organizations. In addition, progressive visions of monkswho had ability to spread knowledge in appropriate ways according to environment, social condition, and economy that were changed. The target group was also clear that budget, equipments, and resources were supported by the integretion of many sections which were Saraphi monks, local administration, council of cultural affairs, leaders, and other organizations. The operation associated with many groups includes village, sub-district, and district. Moreover, the important thing was activities to promote strenght help building harmony and love among people.Furthermore, key success factors were the public relation and every kind of communication that help sustain quality of life development project (Wandering Dhamma) in Saraphi District, Chiang Mai Province. It also affected the ongoing project operation. Suggestions from this study were (1) cultivate feeling of ownership for people as they were parts of their ways of lives, theyshould also hold on and perpetually practice it as traditions. (2) develop knowledge management system of the project to be local learning resources along with develop it to be one of the fields in community educational system (3) transfer knowledge from generation to generation, develop new generation to take part in and responsible for activities, and continuously carry on purposes of the project.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการจัดการความรู้en_US
dc.subjectโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตen_US
dc.titleการจัดการความรู้ตามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต (ธรรมสัญจร) ของอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeKnowledge management of the quality of life development project (Wandering Dhamma) in Saraphi District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc294.3444-
thailis.controlvocab.thashโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต (ธรรมสัญจร)-
thailis.controlvocab.thashธรรมะ -- สารภี (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการบริหารองค์ความรู้-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 294.3444 ถ159ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่องการจัดการความรู้ตามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต(ธรรมสัญจร) ของอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ถึงการจัดการความรู้ตามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต(ธรรมสัญจร) ของอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน องค์กรภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการฯ และเพื่อศึกษาลักษณะการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ตามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต(ธรรมสัญจร) กรณีศึกษาพื้นที่ตำบลยางเนิ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ สำหรับกลุ่มเป้าหมายในการศึกษาวิจัยและให้สัมภาษณ์เป็นพระสงฆ์ พระภิกษุ สามเณร นายกเทศมนตรี ผู้นำ (กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน) และประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ได้แก่ พระสงฆ์ จำนวน 4 รูป นายกเทศมนตรีตำบลยางเนิ้ง ผู้นำ จำนวน 4 คน และประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 12 คน รวม 20 รูป/คน การศึกษาวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้เครื่องมือในการศึกษาวิจัย ได้แก่ แนวคิด ทฤษฎี วรรณกรรม ที่เกี่ยวข้อง ศึกษาบริบทของท้องถิ่น การสังเกต และใช้แบบสัมภาษณ์เป็นแนวทางในการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมาย ผลการวิจัยพบว่า การจัดการความรู้ตามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต(ธรรมสัญจร) ของอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ สามารถคงอยู่ได้และดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพราะการจัดการความรู้ของคณะสงฆ์ และองค์กรภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง บทบาทผู้นำ และการมีส่วนร่วมของประชาชน และ วิถีชีวิตประชาชนที่เกื้อหนุนต่อกิจกรรมที่มีพื้นฐานมาในอดีต จากความเชื่อ ความศรัทธา และเป็นการดำเนินการที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด อำเภอ กระทรวง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะสงฆ์ที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีกลยุทธ์ขับเคลื่อนโครงการฯ ในช่วงเวลาเข้าพรรษาที่เอื้อต่อการเผยแผ่ธรรมะ สามารถเปลี่ยนแปลงแนวทางการเผยแผ่องค์ความรู้ให้เหมาะสมกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ เครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนทรัพยากรจากการบูรณาการทำงานจากหลายส่วน ได้แก่ คณะสงฆ์อำเภอสารภี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สภาวัฒนธรรม ผู้นำ องค์กรภาคส่วนต่าง ๆ เชื่อมโยงถึงกลุ่มต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับหมู่บ้าน ตำบล และอำเภอ และที่สำคัญคือคือกิจกรรมส่งเสริมความเข้มแข็งของกลุ่มต่าง ๆ ในทุกระดับ สร้างความรักความสามัคคีในหมู่ประชาชนมากยิ่งขึ้นปัจจัยที่เกื้อหนุนความสำเร็จ คือการประชาสัมพันธ์ การสื่อสารทุกรูปแบบ ส่งผลให้โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต(ธรรมสัญจร)ของอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ สามารถคงอยู่ และส่งผลต่อการดำเนินการโครงการอย่างต่อเนื่อง ต่อไป ข้อเสนอแนะจากการศึกษานี้ ได้แก่ (1) การดำเนินโครงการฯ ต้องทำให้ประชาชนรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของและเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต ยึดถือปฏิบัติเป็นประเพณีอย่างต่อเนื่อง (2) พัฒนาระบบการจัดการความรู้ของโครงการฯ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของท้องถิ่น และสามารถพัฒนาเป็นหลักสูตรในระบบการศึกษาของชุมชนได้อีกแขนงหนึ่ง (3) มีการสืบทอด ถ่ายทอดองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่น พัฒนาคนรุ่นใหม่เข้ามามีส่วนร่วมและรับผิดชอบกิจกรรม สามารถสืบทอดเจตนารมณ์ของโครงการฯ ต่อไปได้ไม่มีที่สิ้นสุดen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT266.42 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX438.59 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1184.81 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2381.07 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3310.18 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4491.14 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdf CHAPTER 5690.99 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 6.pdf CHAPTER 6377.56 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT247.73 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER684.39 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdf REFERENCE167.4 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.