Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39766
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรสริน โอสถานันต์กุล-
dc.contributor.advisorพรทิพย์ เธียรธีรวิทย์-
dc.contributor.authorอัญชลี ปิงวังen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T10:49:26Z-
dc.date.available2016-12-12T10:49:26Z-
dc.date.issued2558-07-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39766-
dc.description.abstractThis independent study aimed at analyzing the economic and social factors along with the individual key performance index (KPI) that affects resignation of the bank employees in Mueang district, Lampang province. The samples were 400 bank employees from 39 branches of 11 commercial banks: Krungthai Bank, Bangkok Bank, Kasikorn Bank, Siam Commercial Bank, Thai Military Bank, Thanachart Bank, Bank of Ayudhya, Kiatnakin Bank, CIMB Thai Bank, UOB Bank, and Land and House Bank. Moreover, the samples were from 11 branches of 5 specialized banks: Government Savings Bank, Bank for Agriculture and Agricultural Co-operatives, Government Housing Bank, Isalamic Bank of Thailand, and Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand. Data were analyzed by using descriptive statistics including frequency, percentage, mean, rating scale according to Likert scale, and t-Test used to test a differences at the significance level of 0.05. It was found that most of the samples were female, aged between 26 to 30 years old, had single status, held bachelor’s degrees, had salaries of 20,001-25,000 baht, and took positions of customer service employees with the working period of 2 to 5 years. The factors most affecting resignation of employees were economic factors, social factors and individual key performance index (KPI), respectively. All three factors affected resignation of employees at a high level. Regarding the result from testing the difference between sex, age, education level, income and factors affecting bank employees’ resignation in Mueang district, Lampang province, it was revealed that different age, education level, and income affected different opinions about economic factors, social factors and personal key performance index (KPI). However, different sex represented no difference in opinions about factors affecting the resignation trend of employees.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเศรษฐกิจและสังคมen_US
dc.subjectการลาออกen_US
dc.subjectพนักงานธนาคารen_US
dc.titleปัจจัยเศรษฐกิจและสังคมที่ส่งผลต่อแนวโน้มการลาออกของพนักงานธนาคาร ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeEconomic and social factors affecting employees' resignation from commercial banks in Mueang District, Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc352.69-
thailis.controlvocab.thashพนักงานธนาคาร -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashพนักงานธนาคาร -- การลาออก-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 352.69 อ113ป-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงเพื่อศึกษาตัวชี้วัดผลการดำเนินงานรายบุคคล Key performance index (KPI) ที่ส่งผลต่อแนวโน้มการลาออกของพนักงานธนาคาร ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง กลุ่มตัวอย่างคือพนักงานที่ปฏิบัติงานในธนาคารอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน ประกอบด้วย ธนาคารพาณิชย์ ได้แก่ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารทหารไทย ธนาคารธนชาต ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารเกียรตินาคิน ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย ธนาคารยูโอบี และธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์ รวม 11 ธนาคาร 39 สาขา และธนาคารเฉพาะกิจ ได้แก่ ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม รวม 5 ธนาคาร 11 สาขา โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูล ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง และเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวกในแต่ละธนาคาร การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statisticsประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) มาตรวัดแบบประเมินค่า (Rating Scale) ตามแนวคิดของลิเคิร์ท (Likert Scale) และใช้สถิติแบบ t-test ทำการทดสอบความแตกต่างที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 26 – 30 ปี มีสถานภาพโสด มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีรายได้ต่อเดือนอยู่ในช่วง 20,001-25,000 บาท ปฏิบัติงานในตำแหน่งพนักงานบริการลูกค้า และมีอายุการทำงานระหว่าง 2 – 5 ปี ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวโน้มการลาออกของพนักงานมาเป็นลำดับที่ 1 ได้แก่ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ตามด้วยปัจจัยทางสังคม และ Key performance index (KPI) รายบุคคลที่ใช้ประเมินผลงานของธนาคาร ตามลำดับ ทั้ง 3 ปัจจัยมีแนวโน้มต่อการลาออกของพนักงานอยู่ในระดับมาก เมื่อทำการทดสอบความแตกต่างระหว่าง เพศ อายุ การศึกษา และรายได้ กับปัจจัยที่ส่งผลต่อต่อแนวโน้มการลาออกของพนักงานธนาคาร ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง พบว่า อายุ การศึกษา และรายได้ที่แตกต่างกัน ส่งผลให้มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางสังคม และ Key performance index (KPI) รายบุคคลที่ใช้ประเมินผลงานของธนาคาร ที่ส่งผลต่อแนวโน้มการลาออกของพนักงานธนาคารที่ต่างกันแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเว้น เพศที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวโน้มการลาออกของพนักงานไม่แตกต่างกันen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)181.8 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract246.44 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.