Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39763
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนิรุท ไชยจารุวณิช-
dc.contributor.authorปานวรินทร์ วิญญาen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T10:42:39Z-
dc.date.available2016-12-12T10:42:39Z-
dc.date.issued2556-12-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39763-
dc.description.abstractThis independent research aims to minimize the cost of managing inventory by adopting the techniques of inventory management from a case study of Anantaphun Lampang Partnership which sells tractors, tractor parts, and agricultural equipment. This study focused on one type of inventory which is tractor parts consisting of 1,700 lists. Data used in this research was collected from 1 July 2012 to 31 December 2012. It accounted for 6 months. It was revealed that there were many inventories in stock. For this reason, a great amount of capital was used for stocking goods. Furthermore, there was no certainty to order inventories in stock. As a result, the research used the principles of inventory management in order to identify the proper number of inventories and the suitable number of orders for inventories. So, this can minimize the cost of managing inventory as the mentioned purpose. To begin with, the unmoving inventories were eliminated (Dead Stock). It was found that the unmoving inventories were 1,068 lists. Therefore, there were 632 lists of remained tractor parts which were classified by ABC Analysis. Group A contained 144 lists accounted for 22.79% of the total number of the parts and it costed 79.88% of the total value of tractor parts. For group B, there were 162 lists which were 25.63% of the total number of the parts and it costed 15.10% of the total value of tractor parts. Additionally, group C consisted of 326 lists which were accounted for 51.58% of the total number of the parts and it costed 5.02% of the total value of tractor parts. After that, only group A were calculated for variability coefficient in order to find a format of a suitable ordering. If the variability coefficient is lower than 0.20, it indicates that the demand of the inventories is stable. So, EOQ will be used to illustrate the quantity of ordering. If the variability coefficient is more than 0.20, it shows that the demand of the inventories is uncertain and Silver Meal will be used to demonstrate the quantity of ordering. Eventually, reorder point (ROP) will be evaluated and compared with the capital. According to the finding of this study, it can be concluded that after comparing the capital of the present system and the capital of the system after studied, it was discovered that the previous capital was accounted for 130,859.41 baht and the new capital which was accounted after the research was 89,200.51 baht. Obviously, the capital was 41,658.89 baht deducted or 31.83% reduced.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการจัดการสินค้าคงคลังen_US
dc.titleการปรับปรุงการจัดการสินค้าคงคลังในร้านจำหน่ายอะไหล่รถแทรกเตอร์ กรณีศึกษา ห้างหุ้นส่วนจำกัด อนันตภัณฑ์ลำปางen_US
dc.title.alternativeInventory management improvement in Tractor Spare Part Shop : a case study of Anantaphun Lampang Partnershipen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.787-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมสินค้าคงคลัง-
thailis.controlvocab.thashการบริหารงานโลจิสติกส์-
thailis.controlvocab.thashการจัดการวัสดุ-
thailis.manuscript.callnumberว 658.787 ป257ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อลดต้นทุนการบริหารสินค้าคงคลังโดยการประยุกต์ใช้เทคนิคการจัดการสินค้าคงคลัง ของกรณีศึกษา ห้างหุ้นส่วนจำกัด อนันตภัณฑ์ลำปาง ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่ายรถแทรกเตอร์ อะไหล่รถแทรกเตอร์ และอุปกรณ์การเกษตร โดยได้ทำการศึกษาสินค้าคงคลังประเภทอะไหล่รถแทรกเตอร์จำนวน 1,700 รายการ ศึกษาข้อมูลและต้นทุน โดยได้ใช้ข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 รวมทั้งสิ้นเป็นเวลา 6 เดือน ซึ่งพบว่า มีการจัดเก็บอะไหล่ไว้ในคลังสินค้าเป็นจำนวนมาก ทำให้เกิดปัญหาต้นทุนจมในส่วนนี้ นอกจากนั้นยังไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนในการสั่งซื้อสินค้าคงคลัง ดังนั้นทางผู้วิจัยจึงนำหลักการจัดการสินค้าคงคลังมาใช้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณสินค้าคงคลังที่เหมาะสม และปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสม ซึ่งส่งผลถึงการลดต้นทุนในการจัดเก็บสินค้าคงคลังดังกล่าว โดยเริ่มแรกทำการกำจัดสินค้าคงคลังที่ไม่มีการเคลื่อนไหว พบว่ามีปริมาณมากถึง 1,068 รายการ จึงเหลืออะไหล่คงคลังจำนวน 632 รายการ นำไปทำการแบ่งกลุ่มสินค้าคงคลังด้วยวิธี ABC ( ABC Analysis ) พบว่าอะไหล่กลุ่ม A มี 144 รายการ คิดเป็น 22.79 % ของปริมาณอะไหล่ทั้งหมดและมีมูลค่าคิดเป็น 79.88 % ของมูลค่าอะไหล่ทั้งหมด อะไหล่กลุ่ม B มี 162 รายการ คิดเป็น 25.63 % ของปริมาณอะไหล่ทั้งหมดและมีมูลค่าคิดเป็น 15.10 % ของมูลค่าอะไหล่ทั้งหมด และอะไหล่กลุ่ม C มี 326 รายการ คิดเป็น 51.58 % ของปริมาณอะไหล่ทั้งหมดและมีมูลค่าคิดเป็น 5.02 % ของมูลค่าอะไหล่ทั้งหมด หลังจากนั้นนำเฉพาะสินค้าคงคลังในกลุ่ม A มาหาค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน (Variability Coefficient) เพื่อหารูปแบบการสั่งซื้อที่เหมาะสม โดยค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวนน้อยกว่า 0.20 แสดงว่ามีความต้องการสินค้าแบบคงที่ จึงนำมาหาปริมาณการสั่งซื้อด้วยวิธี EOQ ส่วนค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวนมากกว่า 0.20 แสดงว่ามีความต้องการสินค้าแบบไม่แน่นอน จึงนำมาหาปริมาณการสั่งซื้อด้วยวิธี Silver Meal สุดท้ายหาจุดสั่งซื้อที่เหมาะสม ROP และทำการเปรียบเทียบต้นทุน สรุปผลการศึกษาค้นคว้า พบว่า ในการเปรียบเทียบต้นทุนที่เกิดขึ้นซึ่งได้คำนวณหาต้นทุนที่เกิดขึ้น และเปรียบเทียบต้นทุนของระบบการทำงานปัจจุบันกับหลังทำการศึกษา พบว่าต้นทุนเดิมเป็นเงิน 130,859.41 บาท และต้นทุนใหม่ที่เกิดขึ้นหลังทำการวิจัยเป็นเงิน 89,200.51 บาท ทำให้ต้นทุนลดลง 41,658.89 บาท หรือคิดเป็น 31.83 %en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docx51.5 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract164.73 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS6.08 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.