Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39754
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorBordin Chinda-
dc.contributor.authorNumfon Khaoanuraken_US
dc.date.accessioned2016-12-12T10:20:56Z-
dc.date.available2016-12-12T10:20:56Z-
dc.date.issued2015-04-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39754-
dc.description.abstractThis mixed method research study entitled “Effectiveness of the 4MAT Model in Enhancing Students’ Critical Thinking Skills in English Reading Classes” aimed to investigate the students’ critical thinking skills in English reading classes. Samples of the study were 50 students in Matthayomsueksa 4 class 3 at The Prince Royal’s College in Chiang Mai province. A critical thinking test, a questionnaire, an interview schedule and an observation form were used as instruments for data collection. For data analysis, the program SPSS (Statistical Package for the Social Science for Windows) was used to analyze means, standard deviation and the t-test scores from the critical thinking test and the questionnaires, whereas the data from the interviews and observation were examined by Content Analysis. The results of the study reveal that the 4MAT Model enhanced the students’ critical thinking skills in five aspects: deduction, credibility and observation report judgment, assumption identification, induction, and meaning and fallacies at a level of statistical significance of 0.05. Meanwhile, it was also found that the students could enhance the characteristics of critical thinkers in three principle aspects: making inferences and drawing conclusions; categorizing and determining the credibility of the sources and observations; and assuming the identification and conducting experiments. The students’ attitude towards the teacher’s roles, students’ roles and the process of learning through the 4MAT Model were considered to be “very high” which were higher than other teaching processes before the implementation of the 4MAT Model. The students were pleased with the overall process of the 4MAT Model. Strikingly, despite the difficulties in the steps of writing paragraphs and doing group work, the students realized that 4MAT Model enhanced not only their confidence in speaking activities, but also their critical thinking skills. They also understood and positively described the changing roles of the teacher and students in the 4MAT Model classes. As well, they agreed that the 4MAT Model was suitable for other classes, and they could apply it to their daily lives. In conclusion, 4MAT Model enhances students’ critical thinking skills in English reading classes and helps motivate them to learn English.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subject4MAT modelen_US
dc.subjectcritical thinking skillsen_US
dc.subjectEnglish readingen_US
dc.titleEffectiveness of the 4MAT model in enhancing students’ critical thinking skills in English reading classesen_US
dc.title.alternativeประสิทธิผลของโฟร์แมทโมเดลในการส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ในการเรียนวิชาการอ่านภาษาอังกฤษen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc425.24-
thailis.controlvocab.lcshEnglish language -- Reading-
thailis.controlvocab.lcshEnglish language -- Study and teaching-
thailis.manuscript.callnumberTh 425.24 N971E-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยแบบผสมผสานนี้ชื่อประสิทธิผลของโฟร์แมทโมเดลในการส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ในการเรียนวิชาการอ่านภาษาอังกฤษ มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในวิชาการอ่านภาษาอังกฤษ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลในงานวิจัยนี้ ได้แก่ แบบทดสอบการคิดวิเคราะห์ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบสังเกต ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ใช้โปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติ SPSS ในการวิเคราะห์คำนวณค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ในการทำแบบทดสอบทักษะการคิดวิเคราะห์และการทำแบบสอบถาม ขณะเดียวกันผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาที่ได้จากการสัมภาษณ์และการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน ผลของการวิจัยนี้ พบว่าโฟร์แมทโมเดลสามารถส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ได้ 5 ด้าน คือ การให้เหตุผลแบบนิรนัย การพิจารณาความน่าเชื่อถือและการตัดสินใจการสังเกต การระบุข้อสมมติฐาน การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้ความหมายและเหตุผลวิบัติ ที่อยู่ในระดับนัยสำคัญ เท่ากับ 0.05 ในเวลาเดียวกันงานวิจัยนี้ยังพบว่า นักเรียนสามารถเพิ่มพูนคุณสมบัติของการเป็นนักคิดวิเคราะห์ได้ 3 ลักษณะที่สำคัญ คือ ความสามารถในการอ้างอิงและการลงข้อสรุป การจัดหมวดหมู่และระบุความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลรวมทั้งการสังเกต และการตั้งข้อสันนิษฐาน การระบุพิสูจน์ และการทำการทดลอง เมื่อเปรียบเทียบกับกระบวนการเรียนการสอนก่อนการใช้โฟร์แมทโมเดล พบว่า ทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อบทบาทครู บทบาทนักเรียน และกระบวนการเรียนรู้ด้วย 4MAT Model อยู่ในระดับ ดีมาก นักเรียนพอใจภาพรวมของกระบวนการเรียนรู้ด้วยโฟร์แมทโมเดล ทั้งๆที่ นักเรียนจะมีความลำบากในขั้นตอนการเขียนย่อหน้าและการทำงานกลุ่มก็ตาม แต่นักเรียนตระหนัก ว่ากระบวนการโฟร์แมทโมเดลช่วยสร้างเสริมความมั่นใจในกิจกรรมการพูดและทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนมากขึ้น อีกทั้งยังเข้าใจและบรรยายบทบาทของครูและนักเรียนในห้องเรียนแบบโฟร์แมทโมเดลในด้านดีได้อย่างชัดเจน นักเรียนยังลงความเห็นว่าโฟร์แมทโมเดลเหมาะสมกับการเรียนในวิชาอื่นๆ อีก และนักเรียนยังสามารถนำกระบวนการเรียนรู้ด้วยโฟร์แมทโมเดลไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อีกด้วย โดยสรุปแล้ว กระบวนการโฟร์แมทโมเดลช่วยส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในการอ่านภาษาอังกฤษ อีกทั้งยังช่วยเสริมสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษอีกด้วยen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)56.55 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract294.45 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS4.15 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.