Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39722
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กรรณิการ์ กันธะรักษา | - |
dc.contributor.advisor | ฉวี เบาทรวง | - |
dc.contributor.author | พฤกษลดา เขียวคำ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-08T09:44:43Z | - |
dc.date.available | 2016-12-08T09:44:43Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39722 | - |
dc.description.abstract | Intrapartum fatigue impacts both physical and psychological health. It also impacts the fetus and neonate. Therefore, parturients who experience fatigue need effective management. The purpose of this study was to summarize intrapartum fatigue management based on quantitative research reported between 1998 and 2013. The systematic review process followed guidelines developed by the Joanna Briggs Institute (JBI, 2011). The researcher conducted a search from libraries, direct-contact with primary researchers and electronic searching using available and relevant medical and nursing databases as followings: CINAHL, PubMed, ScienceDirect, Wiley online library, and Google Scholar. All identified studies were then reviewed by the researcher and major advisor who then selected relevant studies and appraised and extracted data. These steps were conducted independently. The systematic search identified a total of 12 studies but 1 study was excluded due to inaccessible full-text. The remaining 11 studies included 8 randomized controlled trials and 3 quasi-experimental studies. Selected studies could not be analyzed by meta-analysis; therefore narrative summary was used for analysis. There methods of fatigue management were proven to reduce intrapartum fatigue. These methods included 1) pushing method; 2) fatigue management program comprised of nursing support, positioning and pushing; and 3) music therapy. In summary, evidence-based recommendations of effective fatigue management among parturients include pushing methods, fatigue management program and music therapy. It is recommended that further research on conducting more experimental research regarding intrapartum fatigue management and replicating of primary researches to confirm a reliable body of knowledge. This should be done along with a meta-analysis based on available data. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | อาการเหนื่อยล้า | en_US |
dc.subject | ผู้คลอด | en_US |
dc.title | การทบทวนอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการจัดการอาการเหนื่อยล้าในผู้คลอด | en_US |
dc.title.alternative | Systematic review of fatigue management among parturients | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.classification.nlmc | W 4 | - |
thailis.controlvocab.mesh | Fatigue | - |
thailis.controlvocab.mesh | Labor | - |
thailis.manuscript.callnumber | W 4 พ291ก 2557 | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | อาการเหนื่อยล้าในระยะคลอดส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ตลอดจนส่งผลกระทบต่อทารกในครรภ์และทารกแรกเกิด ดังนั้นผู้คลอดที่มีอาการเหนื่อยล้าจำเป็นต้องได้รับการจัดการอาการเหนื่อยล้าอย่างมีประสิทธิภาพ การทบทวนอย่างเป็นระบบครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับวิธีการจัดการอาการเหนื่อยล้าในระยะคลอด จากรายงานการวิจัยเชิงปริมาณที่รายงานระหว่างปี พ.ศ. 2541 ถึง 2556 โดยใช้กระบวนการทบทวนอย่างเป็นระบบของสถาบันโจแอนนาบริกส์ (Joanna Briggs Institute [JBI], 2011) ผู้วิจัยทำการสืบค้นด้วยมือ ติดต่อกับนักวิจัยโดยตรง และสืบค้นจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกทางการแพทย์และพยาบาล เช่น CINAHL, PubMed, ScienceDirect, Wiley online library, และ Google Scholar เป็นต้น จากนั้นคัดเลือกงานวิจัย ประเมินคุณภาพงานวิจัย และสกัดข้อมูลโดยผู้วิจัยและอาจารย์ที่ปรึกษาแยกกันประเมินอย่างอิสระ ผลการสืบค้นพบรายงานวิจัยจำนวน 12 เรื่อง ถูกคัดออกจำนวน 1 เรื่องเนื่องจากไม่สามารถเข้าถึงเอกสารฉบับสมบูรณ์ งานวิจัยที่นำเข้าสู่การทบทวนมีจำนวน 11 เรื่อง เป็นงานวิจัยเชิงทดลองแบบมีกลุ่มควบคุมและมีการสุ่มตัวอย่างเข้ารับการทดลองจำนวน 8 เรื่อง และแบบกึ่งทดลองจำนวน 3 เรื่อง จากการวิเคราะห์พบว่ารายงานวิจัยไม่สามารถวิเคราะห์แบบเมต้าได้ จึงใช้การวิเคราะห์สรุปเชิงเนื้อหา การจัดการอาการเหนื่อยล้าในผู้คลอดที่มีผลช่วยลดอาการเหนื่อยล้าพบ 3 วิธี คือ 1) การเบ่งคลอด 2) การใช้โปรแกรมการจัดการอาการเหนื่อยล้าที่ประกอบด้วย การสนับสนุนทางการพยาบาล การจัดท่าคลอดร่วมกับการเบ่งคลอด และ 3) การฟังเพลง บทสรุปหลักฐานเชิงประจักษ์นี้มีข้อเสนอแนะถึงวิธีการที่มีประสิทธิภาพเกี่ยวกับการจัดการอาการเหนื่อยล้าในผู้คลอด ได้แก่ การเบ่งคลอด การใช้โปรแกรมการจัดการอาการเหนื่อยล้า และการฟังเพลง เพื่อให้ผู้คลอดสามารถจัดการอาการเหนื่อยล้าอย่างเหมาะสม สำหรับด้านการวิจัยควรมีการศึกษาวิจัยเชิงทดลองเกี่ยวกับการจัดการอาการเหนื่อยล้าเพิ่มเติมหรือทำวิจัยซ้ำ เพื่อยืนยันความน่าเชื่อถือตลอดจนขยายองค์ความรู้และเพิ่มเติมข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์เมต้าในอนาคต | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 161.46 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 296.7 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 184.46 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 278.31 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 180.69 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 399.63 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 162.01 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 148.02 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 568.38 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 219.55 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.