Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39698
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารี วิบูลย์พงศ์ | - |
dc.contributor.advisor | เยาวเรศ เชาวนพูนผล | - |
dc.contributor.author | มัลลิกา มุกดา | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-08T06:02:34Z | - |
dc.date.available | 2016-12-08T06:02:34Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39698 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to study the technology of the rubber farmers including the factors of accepting on technology of the rubber farmers also the problems and the barriers of the farmers in Fang and Chiangdao districts, Chiangmai. The data collected from interviews of 106 farmers under the project of the technology study on the new area rubber farmers. The tools of this study was interview analysis by using frequency, percentage and tobit model. The result showed that 80 percent were male, aged between 51-60 years, the primary education was 52 percent and have between 6-10 years experiences. The rubber farmers got the funds in the private capital. Also the farmer got the RRIM 600 rubbers from the Foundation’s Office Farmers with an average annual income of 10,000 – 50,000 baht a year. Most farmers who own land with an area of 1-10 rai of rubber plantation. But the rubber farmers who lease land with an area of 1-5 rai rubber plantation. For technology plantations were the suitable selection to fit the area, the determining the spacing, the fertilizer at least two times in early and late season. Also followed the advice from the officer. The technology that the farmers do not comply with were fertilizing the soil analysis, preparation the plowing before planting, chemical fertilizers and chemicals used to prevent mold after pruning. The reasons for the farmers who do not follow was to lack of knowledge and experience in the rubber. The analysis of factors affecting technology acceptances rubber farmers using the tobit model found that the adoption of technology in the rubber including age, education, experience and rubber area. The most common problems were farmers lack of knowledge and experience fertilizer shortages of workers in rubber and without knowledge of diseases and pest. This study rubber growers and those interested can bring a more academic plan to ensure quality rubber. Including government agencies involved could be the result of the study is to promote and educate the farmers to develop the rubber growers to ensure quality. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีในการปลูกยางพาราของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Factors affecting farmers’ adoption of Para rubber production technology in Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 338.16 | - |
thailis.controlvocab.thash | เทคโนโลยีการเกษตร -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ยางพารา -- การปลูก -- เชียงใหม่ | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 338.16 ม117ป | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเทคโนโลยีการปลูกยางพาราในพื้นที่รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีการปลูกยางพาราของเกษตรกรและปัญหาและอุปสรรคในในการปลูกยางพาราในพื้นที่ อำเภอฝางและอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ใช้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ทั้งสิ้น 106 ราย ภายใต้โครงการการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตยางพาราของเกษตรกรในพื้นที่ปลูกยางใหม่เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสัมภาษณ์วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ร้อยละและแบบจำลองโทบิท (tobit model) ผลการศึกษาพบว่าเกษตรกรร้อยละ 80 เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 51-60 ปีมีการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 52 มีประสบการณ์ระหว่าง 6-10 ปี ได้รับแหล่งเงินทุนในการปลูกยางพาราจากทุนส่วนตัวเป็นหลักเกษตรกรได้รับพันธุ์ยางจาก สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางพันธุ์ยางที่ใช้ในการปลูกคือพันธุ์ RRIM 600 เกษตรกรมีรายได้เฉลี่ยต่อปี 10,000 - 50,000 บาท/ปี เกษตรกรส่วนใหญ่ที่เป็นเจ้าของที่ดินมีเนื้อที่ปลูกยางพารา 1-10 ไร่ ส่วนเกษตรกรที่เช่าที่ดินปลูกยางพารามีเนื้อที่ปลูกยางพารา 1-5 ไร่ สำหรับเทคโนโลยีการปลูกยางพาราที่เกษตรกรนำไปปฏิบัติได้แก่ ด้านการเลือกพันธุ์ยางให้เหมาะสมกับพื้นที่ ด้านการกำหนดระยะปลูก ด้านการใส่ปุ๋ยตามอายุของต้นยาง การกำหนดขนาดหลุม การใส่ปุ๋ยอย่างน้อย 2 ครั้งในช่วงต้นและปลายฤดูฝน และการกรีดยางพาราตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ ส่วนเทคโนโลยีที่เกษตรกรไม่ปฏิบัติตามนั้นได้แก่ การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน การเตรียมพื้นที่ในด้านการไถพื้นที่ก่อนปลูกยางพารา การผสมปุ๋ยเคมีใช้เองและการใส่สารป้องกันเชื้อราหลังการตัดแต่งกิ่ง เหตุผลที่เกษตรกรไม่ปฏิบัติตามนั้นเนื่องจากยังขาดความรู้ความเข้าใจและขาดประสบการณ์ในการปลูกยางพารา ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีการปลูกยางพาราของเกษตรกรโดยใช้แบบจำลองโทบิท พบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีในการปลูกยางพาราได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ และพื้นที่ปลูกยางพารา ส่วนปัญหาอุปสรรคของเกษตรกรที่พบมากที่สุด ได้แก่ เกษตรกรขาดความรู้ความชำนาญด้านระบบการกรีดยางและการดูแลสวนยาง ปัญหาปุ๋ยราคาแพง ปัญหาการขาดแรงงานในการปลูกยางพาราและไม่มีความรู้การป้องกันกำจัดโรคและศัตรูพืช ผลการศึกษานี้เกษตรกรผู้ปลูกยางพาราและผู้ที่สนใจสามารถนำมาเป็นข้อมูลทางด้านวิชาการเพื่อวางแผนในการปลูกยางพาราให้มีคุณภาพ รวมถึงหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อผลการศึกษาที่ได้เพื่อส่งเสริมและให้ความรู้กลุ่มเกษตรกรเพื่อพัฒนากลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราให้มีคุณภาพต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 224.69 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 861.08 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 220.5 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 517.6 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 356.67 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 359.87 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 386.97 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 6.pdf | CHAPTER 6 | 281.23 kB | Adobe PDF | View/Open |
CONTENT.pdf | CONTENT | 330.07 kB | Adobe PDF | View/Open |
COVER.pdf | COVER | 708.43 kB | Adobe PDF | View/Open |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 215.09 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.