Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39688
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสริตา ธีระวัฒน์สกุล-
dc.contributor.authorกมลชนก วโรภาสกรen_US
dc.date.accessioned2016-12-08T02:55:39Z-
dc.date.available2016-12-08T02:55:39Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39688-
dc.description.abstractThe objectives of this study were to examine body image perception, body image dissatisfaction, as well as correlations between body mass index (BMI), body image perception, body image dissatisfaction and the use of weight loss drugs. The data were collected from 282 female university students using questionnaires, Body Shape Questionnaires (BSQ-34) and Body Satisfaction Scale (BSS). Descriptive statistics was used to analyze the data, whereas Pearson-Chi-Square was used to determine the correlations. The results showed that 56.4% was concerned with shape, 41.9%, 12.4%, and 2.1% of which was lightly, moderately, and severely concerned respectively. The sample group was mostly dissatisfied with their midsection (22.6%), their general body (18.8%), and their head (14.8%). The majority of the sample group was concerned with their body image, regardless of their BMI. In particular, 70.3% of the overweight samples was concerned with their shape, whereas 54.3% of the non over weight samples was. Within the past year, 19.9% of the sample group had used weight loss drugs. There was a statistical significance in the correlation between BMI and the use of weight loss drugs ( p value = 0.002), as 61.7% of the non overweight samples had used weight loss drug, while only 28.6% of the overweight samples had. However, no correlation between body image perception, body image dissatisfaction, and the use of weight loss was found within this sample group. The results of this study can be utilized to provide appropriate information on weight loss to both groups, overweight and non overweight people in the future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectภาพลักษณ์en_US
dc.subjectนักศึกษาen_US
dc.titleการรับรู้และความไม่พึงพอใจต่อภาพลักษณ์รูปร่างของนักศึกษาหญิงen_US
dc.title.alternativeBody image perception and dissatisfaction among female university studentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc613.25-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- นักศึกษา-
thailis.controlvocab.thashน้ำหนักและการวัด-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมน้ำหนัก-
thailis.controlvocab.thashการลดความอ้วน-
thailis.controlvocab.thashสตรีน้ำหนักเกิน-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 613.25 ก167ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการรับรู้และความไม่พึงพอใจต่อภาพลักษณ์รูปร่าง รวมทั้ง ความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีมวลกาย การรับรู้และความไม่พึงพอใจต่อภาพลักษณ์รูปร่าง กับ การใช้ยาลดน้ำหนัก ในกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาหญิงในมหาวิทยาลัย จำนวน 282 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม แบบวัดการรับรู้(BSQ-34) และความไม่พึงพอ ใจในภาพลักษณ์รูปร่าง (BSS) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ สถิติไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาหญิงกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 56.4 มีความกังวลเรื่องภาพลักษณ์รูปร่าง โดยมีความกังวลในระดับ เล็กน้อย ปานกลาง และ มาก ในสัดส่วน ร้อยละ 41.9, 12.4 และ 2.1 ตามลำดับ อีกทั้งไม่พึงพอใจต่อภาพลักษณ์รูปร่างในช่วงลำตัวมากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 22.6 รองลงมา ไม่พอใจส่วนของร่างกายทั่วไป ร้อยละ 18.8 และ ส่วนของช่วงหัว ร้อยละ 14.8 กลุ่มที่ อ้วน ร้อยละ 70.3 มีความกังวลเรื่องภาพลักษณ์หรือรูปร่าง ต่างจากกลุ่มที่ไม่อ้วนที่พบมีผู้ที่ความกังวล ร้อยละ 54.3 กลุ่มตัวอย่างเคยใช้ยาลดน้ำหนัก ร้อยละ 19.9 ในรอบปีที่ผ่านมา ผลการวิเคราะห์พบความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีมวลกาย กับการใช้ยาลดน้ำหนักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( p value = 0.002) โดยกลุ่มที่ไม่อ้วน ร้อยละ 61.7 เคยใช้ยาลดน้ำหนัก เปรียบเทียบกับกลุ่มที่อ้วนเคยใช้ยาลดน้ำหนักเพียงร้อยละ 28.6 แต่ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้ภาพลักษณ์รูปร่าง ความไม่พึงพอใจต่อภาพลักษณ์รูปร่างกับการใช้ยาลดน้ำหนักในนักศึกษาหญิงกลุ่มนี้ ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการให้ข้อมูลที่ถูกต้องในการลดน้ำหนักทั้งในกลุ่มอ้วน และกลุ่มที่ไม่อ้วนให้เหมาะสมต่อไปen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdf ABSTRACT372.95 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdf APPENDIX304.62 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1248.25 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2400 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 3317.67 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4374.31 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdf CHAPTER 5199.98 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT173.45 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER505.36 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdf REFERENCE217.12 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.