Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39681
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชูชีพ พุทธประเสริฐ | - |
dc.contributor.advisor | ปรารถนา โกวิทยางกูร | - |
dc.contributor.author | ปิยฉัตร ไชยแก้ว | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-07T05:21:45Z | - |
dc.date.available | 2016-12-07T05:21:45Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39681 | - |
dc.description.abstract | This independent study was aimed to study the quality management of the student lab school project of Thung Hua Chang Phittayakom School in Thung Hua Chang District, Lamphun Province, in the academic year 2011. The respondents in this study were consisted of 9 basic education committees Thung Hua Chang Phittayakom School, Thung Hua Chang District, Lamphun Province, 2 administrators, 37 teachers and school personnel, and a random sample group of students in secondary education level 1 to level 6 for 18 classrooms by using the method of simple random sampling with quota of 10 students per 1 classroom, totaling 228 persons. The tool used in this study was questionnaire which was divided into 2sets as follows: the questionnaire designed for school administrators, teacher and basic educaton committees, and the questionnaire designed for students. The data gained was then analyzed by percentage and mean. The outputs of the study can be summarized in an overall image that the quality management in 4 aspects, such as planning, implementation, inspection and improvement, was practical in much level. When considering into each aspect, it found that the aspect with the highest mean was planning while the secondary aspect was improvement. The aspect with medium mean was implementation and the aspect with the lowest mean was inspection. Taking into account of the quality management of the student lab school project in 3 aspects, such as skills in using learning tools, thinking and analytic skills, and Thai desirable characteristics, it found that they were in much level but the students had opinion that the quality management of the student lab school project was in medium level. The problems found in the quality management were that the planning was inconsistent since there were high rate of the personnel’s turn over. This had caused problem in determining the duties and responsibilities of the personnel as it was hard to specify the objectives and substantial operation. It is suggested that there should be exchanging knowledge between teachers and teachers, teachers and students, and school and community, to create management quality for the utmost benefit of the students. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | โรงเรียน | en_US |
dc.subject | โครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียน | en_US |
dc.subject | โครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน | en_US |
dc.title | การจัดการคุณภาพของผู้เรียนตามโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝันโรงเรียนทุ่งหัวช้างพิทยาคม อำเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Quality management the student Lab School Project of Thung Hua Chang Phittayakom School, Thung Hua Chang District, Lamphun Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 371.26 | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนทุ่งหัวช้างพิทยาคม | - |
thailis.controlvocab.thash | โครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียน -- ทุ่งหัวช้าง (ลำพูน) | - |
thailis.controlvocab.thash | การประเมินผลทางการศึกษา -- ทุ่งหัวช้าง (ลำพูน) | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 371.26 ป362ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการคุณภาพของผู้เรียน ตามโครงการหนึ่งโรงเรียนหนึ่งอำเภอในฝันของโรงเรียนทุ่งหัวช้างพิทยาคม อำเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลำพูน ปีการศึกษา 2554 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนทุ่งหัวช้างพิทยาคม อำเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลำพูน จำนวน 9 คน ผู้บริหาร จำนวน 2 คน คณะครูและบุคลากรในโรงเรียนจำนวน 37 คน และกลุ่มตัวอย่างจากการสุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนจำนวน 18 ห้อง โดยใช้การสุ่มแบบง่าย(Simple Random Sampling)โดยให้โควต้าห้องละ 10 คน รวมทั้งสิ้น 228 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่สร้างขึ้นแบ่งออกเป็น 2 ชุด ชุดแรก คือ แบบสอบถามสำหรับผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา ชุดสอง คือ แบบสอบถามสำหรับนักเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ศึกษาได้วิเคราะห์โดยใช้ ร้อยละและ ค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่า ในภาพรวมเกี่ยวกับกระบวนการจัดการด้านคุณภาพผู้เรียน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการวางแผน ด้านการปฏิบัติตามแผน ด้านการตรวจสอบ และด้านการปรับปรุงพัฒนา มีผลการปฏิบัติและเป็นจริง อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็น พบว่า ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการวางแผน รองลงมาคือ ด้านการปรับปรุงพัฒนา ส่วนประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง คือ ด้านการปฏิบัติตามแผน และด้านการตรวจสอบ สำหรับภาพรวมเกี่ยวกับผลการจัดการด้านคุณภาพของผู้เรียน ตามโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน 3 ด้านได้แก่ ด้านทักษะความสามารถในการใช้เครื่องมือเพื่อแสวงหาความรู้ ด้านความสามารถในการคิด วิเคราะห์ และด้านคุณลักษณะความเป็นไทย มีระดับคุณภาพอยู่ในระดับ มาก แต่ความเห็นของนักเรียนในภาพรวมเห็นว่า ระดับคุณภาพของผู้เรียนตามโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน อยู่ในระดับ ปานกลาง สำหรับปัญหาที่พบในกระบวนการจัดการคุณภาพของผู้เรียนคือ การวางแผนเกิดความไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากมีการย้ายเข้า ย้ายออก ของบุคลากรมีบ่อยครั้ง ทำให้เกิดการกำหนดบทบาท หน้าที่ ของบุคลากรไม่ชัดเจน ทำให้ยากต่อการกำหนดเป้าหมาย และการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ข้อเสนอแนะ คือ ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง ครูกับครู ครูกับนักเรียน สถานศึกษากับชุมชน เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพในการจัดการศึกษาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่นักเรียน | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 243.79 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 325.01 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 260.23 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 637.91 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 239.66 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 362.99 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 252.82 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 263.5 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 579.1 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 306.18 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.