Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39662
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร. ยงยุทธ ยะบุญธง | - |
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์ ดร. ชูชีพ พุทธประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | รุจิรา หยดย้อย | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-11-09T09:24:55Z | - |
dc.date.available | 2016-11-09T09:24:55Z | - |
dc.date.issued | 2015-08 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39662 | - |
dc.description.abstract | This independent study has 2 objectives which are 1) to study the problem and solution guideline of collegial supervision in Thep Sadej Wittaya School, Doi Saket District, Chiang Mai Province and 2) to study the guidelines for Collegial Supervision in Thep Sadej Wittaya School, Doi Saket District, Chiang Mai Province There are 3 procedures of this study. 1) Studying the problem and solution guidelines of collegial supervision in Thep Sadej Wittaya School, Doi Saket District, Chiang Mai Province The populations used in this study were school principal, vise-principal and teachers of Thep Sadej Wittaya School in the academic year 2014. The tool used in this study was questionnaire and the data was analyzed by inductive inference. 2) Studying and draft the guidelines for collegial supervision in Thep Sadej Wittaya School. The populations used in this study were the directors of the school, who have won the primary prize for excellent administration in both primary and elementary level from the Chiang Mai Primary Education Service Area 1. The tool used in this study was questionnaire and the data was analyzed by inductive inference. 3) To examine the guideline of collegial supervision. The populations for this study were 5 experts and the tool used in this study was the examination form of possibility, suitability, and usefulness. The data was analyzed by using average (µ) and standard deviation (σ). From the study, it founds that the problem of quality management are 1) teachers don’t have enough time or chance to present their information and the process to authorize the education. 2) Teachers have less chance to participate in the planning process. 3) Supervisor and teachers are not good enough and less of media tools. They need to develop in media tools for education. 4) The supervisor of the operation is not consistent. Small group of supervisor cannot provide in-depth advice for teachers. 5) The criteria of evaluation and report are not quite good. Teachers don’t have much chance to set the criteria of the evaluation. The evaluation and the report of collegial supervision are not official and lack of document that can be used to improve teacher. The guidelines of collegial supervision in Thep Sadej Wittaya School, Doi Saket District are assigning the board of directors to study and solve the problem by letting the teachers participate in their education data, plans, selection collaborative, media tools and the develop a multifaceted approach. Encouraging the implementation of internal, supervisor should set the target of evaluation and have a formal document reports to improve the teachers’ performance. The results of possibility, suitability and usefulness were in the highest level. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แนวทางการดำเนินงานนิเทศภายในของโรงเรียนเทพเสด็จวิทยา อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | รุจิรา หยดย้อย | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขการดำเนินงานนิเทศภายในของโรงเรียนเทพเสด็จวิทยา อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการดำเนินงานนิเทศภายในของโรงเรียนเทพเสด็จวิทยา อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ มีขั้นตอนการศึกษา 3 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขการดำเนินงานนิเทศภายในประชากร คือ ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ครู เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุปแบบอุปนัย 2) การศึกษาและร่างแนวทางการดำเนินงานนิเทศภายใน ประชากร คือ ศึกษานิเทศก์กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 1 ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนที่ดีเด่นด้านการนิเทศภายในระดับอนุบาล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 1 โดยคำแนะนำของหัวหน้ากลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 ครูฝ่ายวิชาการระดับปฐมวัยโรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ จำนวนทั้งสิ้น 5 คน เครื่องมือการวิจัย คือแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุปอุปนัย 3) การตรวจสอบแนวทางการดำเนินงานนิเทศภายใน ประชากร คือ ผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา จำนวน 5 คน เครื่องมือ คือ แบบตรวจสอบ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา ปัญหาการดำเนินงานนิเทศภายในของโรงเรียนเทพเสด็จวิทยา อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ทั้ง 5 ขั้นตอน พบว่า 1) ขั้นการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการ ผู้นิเทศขาดการศึกษาและนำเสนอข้อมูลที่ตรงกับปัญหาและความต้องการ ด้านผู้รับการนิเทศยังไม่มีส่วนร่วมในการนำเสนอข้อมูล และสถานศึกษายังไม่มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการนิเทศภายใน 2) ขั้นการวางแผนและการกำหนดทางเลือก ผู้รับการนิเทศยังมีส่วนร่วมในขั้นนี้น้อยเช่นกัน 3) ขั้นการสร้างสื่อ เครื่องมือ และการพัฒนาวิธีการ ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศไม่มีความรู้เพียงพอในขั้นนี้ ขาดสื่อ เครื่องมือ ที่หลากหลาย 4) ขั้นการปฏิบัติการนิเทศภายใน กลุ่มผู้นิเทศมีน้อย การดำเนินการ ยังไม่มีความต่อเนื่องสม่ำเสมอ ผู้นิเทศไม่สามารถให้คำแนะนำในเชิงลึกได้ ช่วงเวลาการนิเทศไม่เหมาะสม 5) ขั้นการประเมินผลและรายงานผล เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินผลยังไม่มีความเหมาะสมชัดเจน ผู้รับการนิเทศไม่มีส่วนร่วมในการกำหนดเกณฑ์การประเมินผล การประเมินผลและรายงานผลการนิเทศภายในมีรูปแบบที่ไม่เป็นทางการ ขาดเอกสารหลักฐานที่จะนำไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาตนเอง แนวทางการนิเทศภายในของโรงเรียนเทพเสด็จวิทยา อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ คือ แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานนิเทศภายในเพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ เปิดโอกาสให้ผู้รับการนิเทศได้มีส่วนร่วมในการนำเสนอข้อมูล ร่วมวางแผนและกำหนดทางเลือก ร่วมสร้างสื่อ เครื่องมือ และการพัฒนาวิธีการที่หลากหลาย ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติการนิเทศภายในอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอตามปฏิทินการนิเทศ มีรูปแบบการนิเทศที่หลากหลาย มีการประเมินผลและรายงานผลที่เป็นทางการ มีเอกสารหลักฐานชัดเจนเพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุง พัฒนาการดำเนินงานให้ดียิ่งขึ้น ผลจากการตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract | 180.46 kB | Microsoft Word XML | View/Open |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 433.47 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
FULL.pdf | Full IS | 3.88 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.