Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39597
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. เพ็ญประภา ศิวิโรจน์-
dc.contributor.authorนงคราญ ตาต๊ะคำen_US
dc.date.accessioned2016-09-28T09:17:12Z-
dc.date.available2016-09-28T09:17:12Z-
dc.date.issued2015-05-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39597-
dc.description.abstractThe purpose of this descriptive study was to study of factors related to motorcycle using behaviors of high school students. The factors related to motorcycle using behaviors were socio-demographic characteristics, experience of using motorcycle, knowledge of safety motorcycle using and attitude toward motorcycle using behavior. The samples were 344 students who studied in high school students in Phu Piang district, Nan province. The questionnaire was used for gathering data. Data of this study were analyzed by descriptive statistics such as frequency, percentile, standard deviation and Chi-square. The results were as follows: 1) More than haft of all students had unsafe motorcycle using behavior (51.3%), the following: students had nearly safety motorcycle using behavior (48.7%) and no students who had safety motorcycle using behaviors. 2) Factors that were significantly related with motorcycle using behaviors of high school students (p-value <0.05) such as time of motorcycle using (p-value = 0.03), experience of road traffic accident (p-value = 0.02), attitude of speed (p-value = 0.002), attitude of traffic role (p-value = 0.01) and attitude of modifying motorcycle (p-value = 0.02). The details were as follow: 2.1) Students who have ridden motorcycle for a long time were related with unsafe motorcycle using behaviors. 2.2)Students who used to have road traffic accident were related with unsafe motorcycle using behaviors. 2.3) Students who had good attitude of speed, traffic regulations and modifying were related with safety motorcycle using behaviors. 3) Others factors such as age, gender and education level were no significantly related with motorcycle using behaviors of high school students (p-value = 0.72, 0.13 and 0.06, respectively) and knowledge of safety motorcycle using was not significantly related with motorcycle using behaviors of high school students (p-value = 0.10)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์ ของนักเรียนมัธยมศึกษา อำเภอภูเพียง จังหวัดน่านen_US
dc.title.alternativeFactors Related to Motorcycle Using Behaviors of High School Students, Phu Phiang District, Nan Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเชิงพรรณนาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์ของนักเรียนมัธยมศึกษา ได้แก่ ลักษณะทางประชากร ประสบการณ์การขับขี่รถจักรยานยนต์ ความรู้เรื่องการขับขี่รถจักรยานยนต์ปลอดภัย และเจตคติต่อพฤติกรรมการขับขี่รถจักรยานยนต์ ทำการศึกษาในนักเรียนทุกคนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน จำนวน 344 คนโดยใช้แบบสอบถาม และนำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติไค-สแควร์ (Chi-square) ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) นักเรียนเกินกว่าครึ่งหนึ่งมีพฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์อยู่ในระดับที่ไม่ปลอดภัย (ร้อยละ 51.3) รองลงมาคือ มีพฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์ที่ค่อนข้างปลอดภัย (ร้อยละ 48.7) และไม่มีนักเรียนที่ใช้รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์ของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ ระยะเวลาในการขับขี่ (p-value = 0.03) ประสบการณ์การเกิดอุบัติเหตุทางถนน (p-value =0.02) เจตคติต่อการขับขี่รถเร็วเกินกว่ากฎหมายกำหนด (p-value = 0.002) เจตคติต่อการการขับขี่ฝ่าฝืนกฎจราจร (p-value = 0.01) และเจตคติต่อการดัดแปลงสภาพรถจักรยานยนต์ (p-value = 0.02) โดยมีรายละเอียดดังนี้ 2.1) นักเรียนมีความสามารถขับขี่รถจักรยานยนต์เป็นระยะเวลานาน จะมีพฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์ที่ไม่ปลอดภัยของนักเรียนมีแนวโน้มมากขึ้น 2.2) นักเรียนที่เคยเกิดอุบัติเหตุจราจรทางถนน จะมีพฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์ไม่ปลอดภัยมากกว่านักเรียนที่ไม่เคยประสบอุบัติเหตุจราจรทางถนน 2.3)ระดับเจตคติที่ดีขึ้นของการขับขี่รถเร็วกว่ากฎหมายกำหนด การขับขี่ฝ่าฝืนกฎจราจร และการดัดแปลงรถของนักเรียน จะทำให้พฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์มีแนวโน้มที่ปลอดภัยขึ้น 3) ปัจจัยอื่นๆ ได้แก่ อายุ เพศ และระดับชั้นไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์ของนักเรียนที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 (p-value = 0.72 0.13 และ 0.06 ตามลำดับ) และความรู้เรื่องการขับขี่ปลอดภัยไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์ของนักเรียนที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 (p-value = 0.10)en_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)174.08 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract249.1 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.