Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39532
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.มาลินี คุ้มสุภา-
dc.contributor.authorวีระยุทธ เทพนันท์en_US
dc.date.accessioned2016-09-20T10:08:35Z-
dc.date.available2016-09-20T10:08:35Z-
dc.date.issued2015-04-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39532-
dc.description.abstractThis individual study aims to analyse the Buddism dharmic principle in MAHAJANAKA royal work. The analysis was integrated with the concept of administration concerning the ruler who teaches and communicates directly and indirectly to promote the moral principle and political knowledge of politicians, government officers, and other people so that the society will be peaceful and the politics will be maturative and effective. This study used a qualitative methodology by researching from books, journals, databases, and related websites, and also by interviewing the well-informed person of this royal work. Then, the data were analysed by using the descriptive statistics and the related theory. The study reveals that the political dharmic principles appeared in this royal work are the endeavor, the intelligence, the patience and the responsibility. These four dharmic principles are obviously taught in the royal work by the King Bhumibol. They reflects that people should be industrious, intelligent, patient, and responsible. Having all these dharmic principles will bring about the good things to the individual and society. The result from the interview with ten samples; monks, scholars, politicians, and government officers, shows that people from every occupations and every genders know and read MAHAJANAKA royal work from many types of medium which are book, cartoon book, television, or even the website. This result suggests that multi-accessing makes this royal work well-known by the people. Moreover, most samples think that the dharmic principles in this royal work are related to the politics, especially the politicians or the political accessories. These principles can be learned and applied not only by the politicians but also by the people in general. In addition, they make people understand more about Thai political system. The story of MAHAJANAKA was added these dharmic principles in and compared to Thai politics in order to be the ideas and practices for people to apply in real life. Transmitting these principles through the letters is called Political Socialization which helps initiate the learning about democratic politics, by integrating the Buddism concept, and bring about the absolute constitutional monarchy.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ส่งเสริมคุณธรรมและการเรียนรู้ทางการเมืองการปกครองจากพระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนกen_US
dc.title.alternativeThe Dharmic Principle of Buddhist to Support Moral Conformity and Political Learning According to the Story of MAHAJANAKAen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์หลักธรรมพุทธศาสนาที่ปรากฏในพระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนก โดยผสมผสานกับแนวคิดทางด้านการปกครอง ที่เกี่ยวข้องกับผู้ปกครอง ด้วยการสั่งสอนและสื่อสารทางตรงและทางอ้อม อันก่อให้เกิดการส่งเสริมคุณธรรมและการเรียนรู้ทางการเมือง ของนักการเมือง ข้าราชการ และประชาชน ที่นำไปสู่สังคมที่มีความสุข การเมืองที่มีวุฒิภาวะและคุณภาพ การศึกษานี้ใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ วารสาร เอกสาร ฐานข้อมูลและเว็บไซด์ที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์ผู้รู้ในเรื่องพระราชนิพนธ์พระมหาชนก และนำมาวิเคราะห์ด้วยหลักสถิติเชิงพรรณนา มาประกอบกับทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า หลักธรรมทางการเมืองที่เห็นได้อย่างชัดเจนจากพระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนกคือ ความเพียร ความมีปัญญา ความอดทน และความรับผิดชอบ หลักธรรมทั้ง 4 ข้อ ถือเป็นหลักธรรมที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ถ่ายทอดให้เห็นอย่างชัดเจนผ่านพระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนก ที่สะท้อนให้เห็นว่า คนเราควรจะต้องมีความเพียร ความมีปัญญา ความอดทน และความรับผิดชอบ จากการมีหลักธรรมทั้ง 4 ข้อ จะส่งผลดีต่อตัวเราเองและสังคม ดังนั้นหลักธรรมดังกล่าวจึงถือเป็นหลักธรรมหลักที่ทุกคนจะได้เรียนรู้จากพระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนก ผลจากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง 10 ท่าน อันได้แก่ พระสงฆ์ นักวิชาการ นักการเมือง ประชาชน และข้าราชการ ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนทุกอาชีพ ทุกเพศ มีความรู้และอ่านพระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนกจากสื่อต่างๆ ทั้งจากหนังสือพระราชนิพนธ์ หนังสือพระราชนิพนธ์ฉบับการ์ตูน จากโทรทัศน์ หรือแม้กระทั่งจากคอมพิวเตอร์ ซึ่งถือว่าเป็นการเข้าถึงเนื้อหาในเรื่องนี้ที่แพร่หลาย ด้วยแนวทางที่หลากหลาย จึงทำให้พระราชนิพนธ์เป็นรู้จักของประชาชนได้เป็นอย่างดี และจากกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ที่ได้ทำการวิจัยเหล่านี้มีความเห็นว่า หลักธรรมที่ได้จากพระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนก เป็นหลักธรรมที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเมืองทั้งสิ้น โดยเฉพาะนักการเมืองหรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเมืองเห็นว่า สามารถศึกษาหาความรู้และนำไปเป็นหลักปฏิบัติได้ ไม่เฉพาะแต่เพียงนักการเมืองเท่านั้น ยังเหมาะสมสำหรับบุคคลทุกเพศ ทุกวัย และยังมีส่วนอย่างมากในการช่วยให้ประชาชนเข้าใจระบบการเมืองไทยมากขึ้น อีกทั้งเนื้อหาของพระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนกยังมีส่วนเกี่ยวข้องทางการเมือง ด้วยการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงสอดแทรกหลักธรรมและได้เปรียบเทียบเรื่องราวต่างๆ ที่สะท้อนการเมืองไทยในเชิงเปรียบเทียบ ไว้เป็นข้อคิดและข้อปฏิบัติที่ประชาชนสามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงได้อย่างลึกซึ้ง ซึ่งสิ่งที่ส่งผ่านตัวอักษรเหล่านี้เรียกว่า การกล่อมเกลาทางการเมือง อันส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ที่ผสมผสานแนวคิดทางพุทธศาสนา อันก่อให้เกิดการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขที่สมบูรณ์en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract175.15 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract175.37 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS2.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.