Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39513
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.วรรณภา ลีระศิริ-
dc.contributor.authorชุติกาญจน์ ทาเกิดen_US
dc.date.accessioned2016-08-23T09:35:17Z-
dc.date.available2016-08-23T09:35:17Z-
dc.date.issued2015-08-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39513-
dc.description.abstractThis study aimed at conducting an imperative study on 1) supportive factors, and 2) obstructive factors towards local female politicians into the position of council members in Thap sadet and Huaey-Kaew Sub-district Administrative Organization, Chiang Mai Province. This quantitative research studied 320 samples: 160 people from Thapsadet sub-district and 160 people from Huaey-Kaew Sub-district who were eligible voters. Tool used to collect data was a questionnaire. Data were analyzed by using statistics: frequency, percentage, and mean. Moreover, the qualitative research was used by studying on 13 samples who took positions of members of Sub-district Administrative Organization: 11 female from Thapsadet Sub-district and 2 female from Huaey-Kaew Sub-district Administrative Organization. Tools used to collect data were in-depth interview and descriptive summary. Results found that 1) In terms of factors supporting local female politicians into the position of council members in Thapsadet and Huaey-Kaew Sub-district Administrative Organization, Chiang Mai Province, it was found that personal factors: age, education, career, income, leadership, and family were supportive factors in the same direction. However, social and cultural factors: patriarchal system, an unequal relationship in terms of authority between male and female, was the different supportive factor. In addition, political involvement is another same supportive factor. 2) In terms of obstructive factors, it was found that social and cultural factor which was the patriarchal system was the different obstacle towards election. Moreover, the political involvement was an obstacle which was in the same direction towards election.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยส่งเสริมการได้รับ เลือกตั้งของนักการเมืองสตรีระดับท้องถิ่น ในองค์การบริหารส่วนตำบลเทพเสด็จกับองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยแก้ว จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeA Comparative Study of Factor Supporting Local Female Politicians into the Position of Council Members of Thapsadet and Huaey-Kaew Tambon Organizations, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยส่งเสริมการได้รับเลือกตั้งของนักการเมืองสตรีระดับท้องถิ่นในองค์การบริหารส่วนตำบลเทพเสด็จกับองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยแก้ว จังหวัดเชียงใหม่ 2)เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการได้รับเลือกตั้งของนักการเมืองสตรีระดับท้องถิ่นในองค์การบริหารส่วนตำบลเทพเสด็จกับองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยแก้ว จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงปริมาณโดยกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรที่มีสิทธิเลือกตั้งในตำบลเทพเสด็จ จำนวน 160 คน และประชากรที่มีสิทธิเลือกตั้งในตำบลห้วยแก้ว จำนวน 160 คน รวมกลุ่มตัวอย่าง 320 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการศึกษาครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพด้วยโดยกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้หญิงที่ดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเทพเสด็จ จำนวน 11 คน และผู้หญิงที่ดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยแก้ว จำนวน 2 คน รวมทั้งสิ้นจำนวน 13 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและสรุปอธิบายเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยส่งเสริมการได้รับเลือกตั้งของนักการเมืองสตรีระดับท้องถิ่นในองค์การบริหารส่วนตำบลเทพเสด็จกับองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยแก้ว จังหวัดเชียงใหม่ปัจจัยด้านปัจเจกบุคคล ได้แก่ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ ภาวะผู้นำ ครอบครัว เป็นปัจจัยส่งเสริมการได้รับเลือกตั้งเหมือนกัน ส่วนปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม คือ ค่านิยมความเชื่อระบบชายเป็นใหญ่ซึ่งเป็นการยอมรับของสังคมต่อความสัมพันธ์ทางเพศที่เหลื่อมล้ำกันทางอำนาจระหว่างเพศชายและ เพศหญิง เป็นปัจจัยส่งเสริมการได้รับเลือกตั้งแตกต่างกันและปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นปัจจัยส่งเสริมการได้รับเลือกตั้งเหมือนกัน 2) ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการได้รับเลือกตั้งของนักการเมืองสตรีระดับท้องถิ่นพบว่า ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม คือ ค่านิยมความเชื่อระบบ ชายเป็นใหญ่ เป็นอุปสรรคต่อการได้รับเลือกตั้งแตกต่างกันและปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมของชุมชนก็เป็นอุปสรรคต่อการได้รับเลือกตั้งเหมือนกันen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfAbstract242.09 kBAdobe PDFView/Open
ABSTRACT.docxAbstract (words)175.03 kBMicrosoft Word XMLView/Open
FULL.pdfFull IS2.92 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.