Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39468
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ.ดร.ชนนาถ กฤตวรกาญจน์-
dc.contributor.authorวาทิศ มณีรัตน์en_US
dc.date.accessioned2016-07-27T09:11:03Z-
dc.date.available2016-07-27T09:11:03Z-
dc.date.issued2015-07-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39468-
dc.description.abstractThe objectives of this study are to development of preventive maintenance system and increasing machine availability. The preventive maintenance concept has been used. The root causes of machine failures and machine downtimes are analyzed. Besides, the self maintenance is also implemented such as cleaning, inspecting, and lubricating. These activities are conducted as the periodic maintenance schedule. The maintenance standard is also set to ensure that the maintenance activities will be performed well. After the preventive maintenance was implemented by used 5 machines that differently, the result shows that the mean time between failure (MTBF) by average can increases from 176.10 hours/time to 265.88 hours/time so increases by 89.77 hours/time for the mean time to repair (MTTR) by average can decreases from 36.44 hours/time to 21.86 hours/time so decreases by 14.58 hours/time and last for machine availability (A) by average can increases from 81.87 % to 91.51 % so increases by 9.64 %.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาระบบบำรุงรักษาเชิงป้องกัน ของบริษัท เอ็มซีเอสไมนิ่ง อินดัสทรี จำกัดen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Preventive Maintenance System of MCS Mining Industries Co., Ltd.en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบำรุงรักษาเชิงป้องกันเครื่องจักรที่ใช้ผลิตแคลเซียมคาร์บอเนต และการเพิ่มอัตราความพร้อมใช้งานของเครื่องจักร เมื่อมีการนำหลักการการบำรุงรักษาเชิงป้องกันมาใช้ ทำให้สามารถวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดเหตุขัดข้องของเครื่องจักร และระยะเวลาการหยุดของเครื่องจักรออกมาได้ นอกจากนี้การบำรุงรักษาด้วยตนเองก็ได้ถูกนำมาใช้ด้วยเช่นกัน เช่น การทำความสะอาด การตรวจสอบ การหล่อลื่น เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมต่างๆเหล่านี้ จะถูกนำไปใช้เพื่อกำหนดเป็นตารางการบำรุงรักษาตามระยะเวลาต่อไป โดยการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการบำรุงรักษาจะช่วยให้เกิดความเชื่อมั่นได้ว่า กิจกรรมการบำรุงรักษาจะสามารถดำเนินการจนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี หลังจากที่ได้ดำเนินการพัฒนาระบบบำรุงรักษาเชิงป้องกันกับเครื่องจักร 5 เครื่อง ที่แตกต่างกัน ผลที่ได้คือ สำหรับค่าระยะเวลาเฉลี่ยระหว่างเกิดเหตุขัดข้อง มีค่าเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย จาก 176.10 ชั่วโมง/ครั้ง เป็น 265.88 ชั่วโมง/ครั้ง เพิ่มขึ้นได้ 89.77 ชั่วโมง/ครั้งสำหรับค่า ระยะเวลาโดยเฉลี่ยระหว่างการซ่อม มีค่าลดลงโดยเฉลี่ยจาก 36.44 ชั่วโมง/ครั้ง เหลือ 21.86 ชั่วโมง/ครั้ง ลดลงได้ 14.58 ชั่วโมง/ครั้ง และสุดท้ายค่าอัตราความพร้อมใช้งานของเครื่องจักร มีค่าเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยจาก 81.87 % เป็น 91.51 % เพิ่มขึ้นได้ 9.64 %en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)177.82 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract176.84 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS4.82 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.