Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39452
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดร. ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย-
dc.contributor.authorฉัตรชัย สัทธรรมพงศาen_US
dc.date.accessioned2016-07-26T09:42:26Z-
dc.date.available2016-07-26T09:42:26Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39452-
dc.description.abstractThis study had the following objectives: to analyze the financial status of credit unions in Chiang Mai Province by applying CAMEL analysis and to extract common financial factors by using Factor Analysis. The data were collected from 2012’s Annual Report of 34 credit unions in Chiang Mai Province. Principal Component Analysis (PCA) and Varimax rotation method were performed to extract common factors. The result found that an average financial ratios of credit unions in Chiang Mai Province were better than those of countrywide. The results also found that those financial ratios suggested by CAMEL Analysis could be explained by five common financial factors. Those factors could explain 74.037% of the total variance. The first factor was return factor which could explain 24.233% of the total variance. The second factor was membership factor which could explain 16.544% of the total variance. The third factor was growth factor which could explain 13.666% of the total variance. The fourth factor was capital factor which could explain 10.848% of the total variance and the last factor was revenue factor which could explain 8.746% of the total variance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ปัจจัยอัตราส่วนทางการเงินของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactor Analysis on Financial Ratios of Credit Unions in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ คือ เพื่อวิเคราะห์สถานะทางการเงินของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในจังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้ CAMEL Analysis และเพื่อสกัดปัจจัยอัตราส่วนทางการเงิน โดยใช้แนวคิดการวิเคราะห์ปัจจัย ข้อมูลที่ศึกษาได้จากรายงานประจำปี 2555 ของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 34 แห่ง สำหรับการกำหนดปัจจัยทางการเงินใช้แนวคิดการวิเคราะห์ปัจจัย ด้วยวิธี Principal Component Analysis (PCA) และหมุนปัจจัยด้วยวิธี Varimax ผลการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยอัตราส่วนทางการเงินของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในจังหวัดเชียงใหม่ มีค่าที่ดีกว่าค่าเฉลี่ยของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทั่วประเทศ ผลการวิเคราะห์ปัจจัยพบว่า อัตราส่วนทางการเงินของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในจังหวัดเชียงใหม่สามารถอธิบายได้ด้วยปัจจัยทางการเงินจำนวน 5 ปัจจัย ซึ่งสามารถอธิบายความแปรปรวนสะสมของอัตราส่วนทางการเงินได้ 74.037% ประกอบด้วย 1) ปัจจัยด้านผลตอบแทน สามารถอธิบายความแปรปรวนของอัตราส่วนทางการเงินได้ 24.233% 2) ปัจจัยด้านสมาชิก สามารถอธิบายความแปรปรวนของอัตราส่วนทางการเงินได้ 16.544% 3) ปัจจัยด้านการเติบโต สามารถอธิบายความแปรปรวนของอัตราส่วนทางการเงินได้ 13.666% 4) ปัจจัยด้านทุน สามารถอธิบายความแปรปรวนของอัตราส่วนทางการเงินได้ 10.848% 5) ปัจจัยด้านรายได้ของสหกรณ์ สามารถอธิบายความแปรปรวนของอัตราส่วนทางการเงินได้ 8.746%en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)174.82 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract243.11 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.