Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39403
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. ภัทราภรณ์ ทุ่งปันคา-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ สกุลพรรณ์-
dc.contributor.authorทศพล อะกะเรือนen_US
dc.date.accessioned2016-07-13T09:54:35Z-
dc.date.available2016-07-13T09:54:35Z-
dc.date.issued2559-03-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39403-
dc.description.abstractAggressive behavior of patient with schizophrenia addicted to the nicotine in tobacco is a problem that affects themselves and others. If not treated properly, it can cause serious damage. The purpose of this operational study was to evaluate the effectiveness of implementing the anger management program among patient with schizophrenia addicted to tobacco. The sample was six nurses and thirty patients with schizophrenia who were addicted to nicotine and were reported of having aggressive behavior at Suan Prung Psychiatric Hospital, Chiang Mai Province during October to December 2015. The instruments used in this study consisted of 1) The personal information record form 2) The Thai version of Positive and Negative Syndrome Scale 3) Fagerstrom test for nicotine dependence 4) Overt Aggression scale 5) The anger management program and 6) The questionnaires of nurses’ opinions toward the anger management program among patient with schizophrenia addicted to tobacco. Descriptive statistics were computed for data analysis. The results revealed that: 1. After implementing the anger management program within one week, all patients with schizophrenia addicted to tobacco did not have aggressive behavior. The most useful methods to manage their anger were breathing exercises and non-vocal counting. ช 2. All nurses who used the program agreed on all items related to implementing the anger management program. These include relation advantage, compatibility, complexity, trial ability and observability. These results suggested that the anger management program used for patients with schizophrenia addicted to tobacco can decrease aggressive behavior in this population. Therefore this program should be further implemented in the routine care to prevent the aggressive behavior for this specific populationen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการจัดการกับความโกรธในผู้ป่วย จิตเภทที่ติดบุหรี่ โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffectiveness of Implementing the Anger Management Program Among Patients with Schizophrenia Addicted to Tobacco, Suan Prung Psychiatric Hospital, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractพฤติกรรมก้าวร้าวในผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ติดสารนิโคตินในบุหรี่ เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบ ทั้งตนเองและผู้อื่น หากไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสม จะทาให้เกิดอันตรายที่รุนแรงมากยิ่งขึ้น การศึกษาเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการจัดการกับความโกรธในผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ติดบุหรี่ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพจานวน 6 ราย ที่ดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท 30 ราย ที่ติดสารนิโคตินระดับต่าขึ้นไป และมีพฤติกรรมก้าวร้าว ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล สวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือนตุลาคม ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2558 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบประเมินอาการทางจิตผู้ป่วยโรคจิตเภทฉบับภาษาไทย 3) แบบวัดระดับการติดนิโคติน 4) แบบสังเกตพฤติกรรมก้าวร้าว 5) โปรแกรมการจัดการกับความโกรธ และ 6) แบบประเมินความคิดเห็นของบุคลากรทางการพยาบาลต่อการใช้โปรแกรม การจัดการกับความโกรธในผู้ป่วยจิตเภทที่ติดบุหรี่ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ผลการศึกษา พบว่า 1. ภายหลังได้รับโปรแกรมการจัดการกับความโกรธ ภายใน 1 สัปดาห์ ผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ติดบุหรี่ทั้งหมด ไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว โดยวิธีการจัดการกับความโกรธที่ใช้มากที่สุด คือการหายใจเข้าออกและการนับในใจ 2. พยาบาลวิชาชีพที่ใช้โปรแกรมทั้งหมดเห็นด้วยในทุกประเด็นของการใช้โปรแกรมการจัดการกับความโกรธว่ามีประโยชน์ เข้ากันได้ดีกับสิ่งที่มีอยู่ ไม่มีความซับซ้อน นาไปทดลองปฏิบัติได้ และสังเกตเห็นผลได้ จ จากผลการศึกษานี้ แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการจัดการกับความโกรธในผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ติดบุหรี่ สามารถลดพฤติกรรมก้าวร้าวในผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้ ดังนั้นพยาบาลผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทที่ติดบุหรี่ ควรนาโปรแกรมนี้ไปใช้ในการดูแล และป้องกันการเกิดพฤติกรรมก้าวร้าวในงานประจาต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.docxAbstract (words)52.56 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 226.15 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.71 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.