Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39357
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorLect. Dr. Chalathip Wasuwat-
dc.contributor.authorHesti Aryanien_US
dc.date.accessioned2016-07-05T03:01:19Z-
dc.date.available2016-07-05T03:01:19Z-
dc.date.issued2558-04-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39357-
dc.description.abstractThis research studies the novel Jaipong Dancer written by Patrick Sweeting for the purposes of examining the representations oppression of Indonesian women during the postcolonial era, specifically since the Indonesian independence in 1945 to the late 1960s, through the character of Yahyu. Feminism and Postcolonialism as theoretical frameworks, including Spivak’s postcolonial feminist theory, Anne McClintock and Mohanty’s notion of the idea of double colonialism, were employed in the analysis to investigate how the two forms of domination between patriarchy and imperialism are involved in the domestication and oppression of women in Indonesia. The analysis reveals the roles of Indonesian women from the smallest scope of the family institution, to the larger scope at the societal level. Through a close reading of the novel, this research demonstrates women’s oppression by the former colonizers and local Indonesian men, particularly through the portrayals of Jaipong dancers. The analysis reveals that Jaipong dancers can be the susceptible targets of oppression during the Indonesian postcolonial period as a result of the Western males’ fantasies of Indonesian women and their sexual desires. This Independent Study also indicates that patriarchy and colonialism support each other in oppressing women, by the fact that men and women experience colonization differently. Women, in this case, are doubly oppressed both by patriarchal and colonial powers. The two main representations found in this study involve the protagonist character of Yahyu being portrayed as a victim, and as an oppressed woman in postcolonial Indonesia. The oppression includes sexual abuse and harassment. Moreover, the second representation of Yahyu involves her developing character by the end of the story, in which she resists against all forms of oppression as her attempts to decolonize herself and her country.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleRepresentations of Indonesian Women’s Oppression During Postcolonial Time as Portrayed in Patrick Sweeting’s Novel Jaipong Danceren_US
dc.title.alternativeภาพแทนของการกดขี่สตรีชาวอินโดนีเซียในยุคหลังอาณานิคม ในนวนิยายเรื่อง ไจปง แดนเซอร์ ของ แพทริค สวีทติงen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ศึกษานวนิยาย เรื่อง ใจปองแดนเซอร์ ประพันธ์โดยแพททริค สวีตติ้ง งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งที่จะสำรวจภาพแทนการกดขี่ผู้หญิงอินโดนีเซียในช่วงยุคหลังอาณานิคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงที่ประเทศอินโดนีเซียได้รับเอกราชในปี ค.ศ 1945 จนถึงปลายทศวรรษที่ 60 โดยศึกษาผ่านตัวเอกในเรื่องที่ชื่อว่า ยาห์ยู โดยมีทฤษฎีสตรีนิยมและทฤษฎีหลังอาณานิคม รวมทั้งทฤษฎีสตรีนิยมหลังอาณานิคมของสปิวัค แนวคิดเรื่องอาณานิคมซ้ำซ้อนของแอน แม็คคลินท๊อค และโมฮานที เป็นกรอบในการวิเคราะห์เพื่อที่จะค้นหาว่า รูปแบบของการครอบงำสองแบบของของระบอบปิตาธิปไตยและลัทธิจักรวรรดินิยมมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างไรในการจำกัดพื้นที่ของผู้หญิงให้อยู่แต่ในบ้านและการกดขี่ผู้หญิงในประเทศอินโดนีเซีย ผลจากการวิเคราะห์ได้แสดงให้เห็นถึงบทบาทของผู้หญิงอินโดนีเซีย จากบทบาทในขอบเขตที่เล็กที่สุดในสถาบันครอบครัวไปจนถึงบทบาทในระดับสังคมที่กว้างขึ้น จากการอ่านนิยายเล่มนี้อย่างละเอียด งานวิจัยชิ้นนี้ได้แสดงให้เห็นถึงการกดขี่ผู้หญิงโดยอดีตนักล่าอาณานิคมและผู้ชายท้องถิ่นในประเทศอินโดนีเซียเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ่านภาพการพรรณนาลักษณะของ ใจปองแดนเซอร์ จากการวิเคราะห์ได้แสดงให้เห็นว่า ใจปองแดนเซอร์ สามารถตกเป็นเป้าหมายที่อ่อนแอในการกดขี่อย่างง่ายดายในช่วงยุคหลังอาณานิคมของประเทศอินโดนีเซีย อันเป็นผลที่เกี่ยวเนื่องมาจากจินตนาการเกี่ยวกับผู้หญิงอินโดนีเซียและแรงปรารถนาทางเพศของผู้ชายตะวันตก งานศึกษาค้นคว้าอิสระชิ้นนี้ ยังได้ชี้ให้เห็นว่าระบอบปิตาธิปไตย และลัทธิอาณานิคมได้มีส่วนในการหนุนเสริมกันและกันในการกดขี่ผู้หญิง โดยข้อเท็จจริงที่ว่า ผู้ชายกับผู้หญิงมีประสบการณ์เกี่ยวกับการถูกล่าอาณานิคมที่แตกต่างกัน ในกรณีดังกล่าว ผู้หญิงถูกกดขี่ทั้งจากระบอบปิตาธิปไตยและอำนาจของเจ้าอาณานิคมนั่นเอง ภาพแทนหลักๆ ที่พบในการศึกษาครั้งนี้ เกี่ยวเนื่องกับตัวเอกในเรื่องที่ชื่อ ยาห์ยู ซึ่งถูกนำเสนอให้เป็นเหยื่อและเป็นผู้หญิงที่ถูกกดขี่ในประเทศอินโดนีเซียยุคหลังอาณานิคม ซึ่งลักษณะของกดขี่ที่กล่าวถึงในนวนิยาย ได้แก่ การล่วงละเมิดและการคุกคามทางเพศ นอกจากนั้น ภาพแทนที่สองของ ยาห์ยู ยังเกี่ยวเนื่องกับลักษณะพัฒนาการของเธอในตอนจบของเรื่อง เมื่อเธอได้ทำการต่อต้านรูปแบบต่างๆ ของการกดขี่เพื่อปลดแอกตัวเธอและประเทศชาติของเธอen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docAbstract (words)194.5 kBMicrosoft WordView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract329.16 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
full.pdfFull IS3.17 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.