Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39348
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Dr. Cheryl Traiger | - |
dc.contributor.author | Siwadee Akkaraphot | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-07-05T02:52:11Z | - |
dc.date.available | 2016-07-05T02:52:11Z | - |
dc.date.issued | 2558-05 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39348 | - |
dc.description.abstract | The objective of the study “Request Strategies Used by the Main Character of Scandal TV Series - Season 2” was to see why the script writer chose specific request speech acts strategies, and how these forms convey the context and relationships between the main character and the other characters. The theoretical frameworks used are Blum-Kalka’s nine request strategies and Morand’s classifications of positive and negative tactics. The analysis demonstrates that the script writer indicates relative power and changes in relationships through the choices of the main character’s request forms. The author found that the request strategy that is most uttered by the main character, both to her subordinates and ex-lovers, is mood derivables. These are equivalent to Morand’s least polite choice of utterance – requesting with no redressive action. This shows that the script writer tries to convey that the protagonist is strong, independent, and more powerful than other characters. The speech acts between the main character and her subordinates are consistent with Morand’s study, which states that superiors tend to use more positive tactics than subordinates. Moreover, it is also found that the main character tended to be politer to her subordinates in non-emergency situations than in emergency ones, most likely in order to be precise and concise when assigning tasks. Changes in relationships are the main reason for the main character’s different request forms used between herself and her lovers/ ex-lovers. In the latter case, the script writer chose to create distance after the break-ups by using less polite forms, sometimes with vulgar words, so that the main character could show her independence. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Request Strategies Used by the Main Character of Scandal TV Series - Season 2 | en_US |
dc.title.alternative | กลยุทธ์การร้องขอที่ใช้โดยตัวละครเอกในละครโทรทัศน์ เรื่อง สแกนดัล ภาค 2 | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษากลยุทธ์การร้องขอที่ใช้โดยตัวละครเอกในละครโทรทัศน์เรื่องสแกนดัล ภาค2 นี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าเหตุใดผู้เขียนบทละครโทรทัศน์จึงเลือกใช้ระดับวัจนกรรมการร้องขอนั้นๆ และระดับวัจนกรรมการร้องขอที่ใช้สามารถสื่อบริบทและความสัมพันธ์ระหว่างตัวละครเอกกับตัวละครอื่นได้อย่างไร กรอบทฤษฎีที่ใช้ในการแบ่งประเภทและระดับความสุภาพได้แก่ กลยุทธ์การร้องขอของ บลูม-กัลกาและยุทธวิธีเชิงบวกและเชิงลบของเดวิด มอแรนด์ ผลการวิเคราะห์ชี้ให้เห็นว่าผู้เขียนบทละครโทรทัศน์พยายามแสดงอำนาจความสัมพันธ์ของตัวละครที่เปลี่ยนแปลงด้วยการเลือกใช้วัจนกรรมผ่านการร้องขอของตัวละครเอก โดยพบว่าวัจนกรรมการร้องขอที่ถูกใช้บ่อยครั้งที่สุดทั้งกับผู้ใต้บังคับบัญชาและอดีตคนรักคือ Mood derivable ซึ่งตรงกับระดับการพูดที่มีความสุภาพน้อยที่สุดของเดวิด มอแรนด์ อันได้แก่การพูดแบบกระชับ (Requesting with no redressive action) จึงสรุปได้ว่าผู้เขียนบทละครโทรทัศน์พยายามสื่อให้เห็นว่าตัวละครเอกมีความเข้มแข็ง ความเด็ดเดี่ยว และมีอำนาจเหนือตัวละครอื่นๆ นอกจากนี้ ผู้เขียนยังพบว่าวัจนกรรมของตัวละครเอกกับผู้ใต้บังคับบัญชามีความสอดคล้องกับทฤษฎีของเดวิด มอแรนด์ที่กล่าวว่าผู้บังคับบัญชามักใช้ยุทธวิธีเชิงบวกกับผู้ใต้บังคับบัญชา และยังพบว่าตัวละครเอกมีความสุภาพกับผู้ใต้บังคับบัญชาในสถานการณ์ที่มีเร่งด่วนน้อยกว่าสถานการณ์ที่ไม่เร่งด่วนอีกด้วย ระดับความสัมพันธ์ที่เปลี่ยนแปลงระหว่างตัวละครเอกกับอดีตคนรักเป็นสาเหตุสำคัญต่อการเลือกใช้ระดับความสุภาพของตัวละครเอก กล่าวคือเมื่ออยู่ในความสัมพันธ์ที่แย่ลง ผู้เขียนบทโทรทัศน์เลือกใช้บทพูดที่มีระดับความสุภาพต่ำ จนถึงการใช้คำหยาบ เพื่อสื่อว่าตัวละครเอกมีความเด็ดเดี่ยวและพึ่งตนเองได้ | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Abstract.doc | Abstract (words) | 61 kB | Microsoft Word | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 330.67 kB | Adobe PDF | View/Open |
full.pdf | Full IS | 2.8 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.