Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39304
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ปิติมา ดิศกุลเนติวิทย์-
dc.contributor.authorณัฐกานต์ ศรีวิชัยen_US
dc.date.accessioned2016-06-24T08:27:56Z-
dc.date.available2016-06-24T08:27:56Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39304-
dc.description.abstractThe objective of this independent study is to investigate the relationship between firm performance and management remuneration of listed companies in The Stock Exchange of Thailand using data collected from annual reports, financial statements, annual registration statements (Form 56-1) and firm websites. This independent study was carried out from 2009 to 2013 on 1,545 datas and data analyzed and evaluated by using multiple regression analysis. The dependent variable was management remuneration. The independent variables were return on assets (ROA), earnings before interest, tax, depreciation and amortization (EBITDA), price-earnings ratio (PE) and income. The control variables were size of firms, measured by total assets (unit : thousand million baht) and age of firms (unit : years). The results of the study showed that for 25.83 percent of firms, management remuneration was over forty million baht, with 17.35 percent paying less than ten million baht. And the results from multiple regression analysis showed that at the significant level 0.01 or 99 percent confidence level, company performance related positively to management remuneration of listed companies in The stock exchange of Thailand. The company performance variables, return on assets and earnings before interest, tax, depreciation and amortization also showed a positive relationship with management remuneration of listed companies in The stock exchange of Thailand. Therefore, firms with good performance can increase the profits, resulting in increasing management remuneration, in accordance with the hypothesis. However, price-earnings ratio had no significant effect on management remuneration. The control variables, size of firms measured by total assets and age of firm were positively related to management remuneration, in other words, large and established firms can therefore generate higher profits than small firms, which concurred with previous research results. Beside, when transformed size of firms by natural logarithms, the results showed the same.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ของผลการดำเนินงานกับค่าตอบแทนผู้บริหารของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeRelationship Between Firm Performance and Management Remuneration of Listed Companies in The Stock Exchange of Thailanden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของผลการดำเนินงานและค่าตอบแทนผู้บริหารของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จากการเก็บข้อมูลจากรายงานประจำปี รายงานทางการเงิน แบบแสดงรายงานประจำปี (56-1) และเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2552 ถึงปี พ.ศ. 2556 จำนวน 1,545 ข้อมูล โดยเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ตัวแปรตาม ได้แก่ ค่าตอบแทนผู้บริหาร (PAY) และตัวแปรอิสระ ได้แก่ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ROA) กำไร(ขาดทุน) ก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย (EBITDA) อัตราส่วนราคากำไรต่อหุ้น (PE) และรายได้ ส่วนตัวแปรควบคุม ได้แก่ ขนาดของกิจการซึ่งวัดค่าจากสินทรัพย์รวม (หน่วย : พันล้านบาท) และอายุของกิจการ (หน่วย : ปี) ผลจากการศึกษาพบว่าว่าบริษัทส่วนใหญ่จ่ายค่าตอบแทนผู้บริหารจำนวนมากกว่า 40,000,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 25.83 รองลงมาจ่ายค่าตอบแทนต่ำกว่า 10,000,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 17.35 ส่วนการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณพบว่าที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 หรือที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 พบว่า ผลการดำเนินงานมีความสัมพันธ์กับค่าตอบแทนผู้บริหาร โดยตัวแปรอิสระที่ใช้แทนผลการดำเนินงานได้แก่ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม กำไร(ขาดทุน) ก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับค่าตอบแทนผู้บริหารของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กล่าวคือเมื่อกิจการมีการบริหารผลการดำเนินงานดีส่งผลให้มีกำไรสูงขึ้นจะมีการจ่ายค่าตอบแทนผู้บริหารเพิ่มขึ้นด้วย ความสัมพันธ์ดังกล่าวเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ อัตราส่วนราคากำไรสุทธิต่อหุ้น ไม่มีความสัมพันธ์กับค่าตอบแทนผู้บริหารของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตัวแปรควบคุมได้แก่ ขนาดของกิจการซึ่งวัดค่าจากสินทรัพย์รวมและอายุของกิจการ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับค่าตอบแทนผู้บริหารซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยในอดีต กล่าวคือกิจการที่มีขนาดใหญ่และมีอายุที่ยาวนานจะสามารถสร้างผลกำไรและยอดขายได้ดีกว่ากิจการที่มีขนาดเล็ก ดังนั้นจึงสามารถจ่ายค่าตอบแทนผู้บริหารสูงขึ้นด้วยทั้งนี้จากการเปลี่ยนโดยวัดขนาดกิจการด้วยลอการิทึมธรรมชาติ (Natural logarithms) โดยผลการศึกษายังคงเดิมen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.docAbstract (words)66.5 kBMicrosoft WordView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract166.87 kBAdobe PDFView/Open
full.pdfFull IS3.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.