Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39295
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิกุล นันทชัยพันธ์-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ-
dc.contributor.authorชนุกร แก้วมณีen_US
dc.date.accessioned2016-05-19T08:28:11Z-
dc.date.available2016-05-19T08:28:11Z-
dc.date.issued2557-09-08-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39295-
dc.description.abstractCholangiocarcinoma (CCA) is a life threatening disease that causes enormous spiritual distress. Individuals who have CCA may have different spiritual needs. This descriptive study aimed to explore the spiritual needs of persons with CCA by using the Model of Spiritual Needs in Patients with Cancer developed by Taylor (2003) as a conceptual framework. Samples consisted of 267 persons with CCA who were treated at Sanpasitthiprasong Hospital in Ubon Ratchathani province from November 2013 and May 2014. A Demographic Questionnaire and a Spiritual Needs of Persons with CCA Questionnaire were used for data collection. The Cronbach’s alpha coefficient of the tool was .93. Descriptive statistics were used to analyze the data. Results of the study revealed that: Fifty five point eight percent of the study samples had high level of overall spiritual needs. Considering each domain, the study results demonstrated that the study samples had high level in the domain of spiritual need associated with religion and divinity (72.30 %), finding the meaning and purpose of life (71.50 %), giving love to and receiving love from others (61.80 %), positive attitude and hope (61.00 %), and reviewing beliefs (51.70 %). Sixty six point three percent of the study samples had a moderate level of spiritual needs in terms of religious practice and 65.90 percent in preparing for death. Moreover, the sample of study reported that meaning in their lives was karma (34.10 %), religious taught (24 %) and sacred items (17.20 %). The study results provide preliminary information for nurses and other healthcare professions in planning support to meet the spiritual needs of persons with CCA who are admitted to hospitals, and enhancing their quality of life and spiritual well-being. Further study should be done to develop constructive interventions for responding to the spiritual needs of this sector of the population.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectผู้ที่เป็นมะเร็งท่อน้ำดีen_US
dc.titleความต้องการด้านจิตวิญญาณของผู้ที่เป็นมะเร็งท่อน้ำดีen_US
dc.title.alternativeSpiritual Needs of Persons with Cholangiocarcinomaen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddcW 4-
thailis.controlvocab.thashSpirituality-
thailis.controlvocab.thashCholangiocarcinoma-
thailis.manuscript.callnumberW 4 ช154ค 2557-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractมะเร็งท่อน้ำดีเป็นโรคที่คุกคามต่อชีวิตและสร้างความทุกข์ทรมานทางจิตวิญญาณเป็นอย่างมาก ทำให้ผู้ที่เป็นมะเร็งท่อน้ำดีมีความต้องการการตอบสนองด้านจิตวิญญาณ ซึ่งมีความแตกต่างกันใน แต่ละบุคคล การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้ เป็นการศึกษาความต้องการด้านจิตวิญญาณของผู้ที่เป็นมะเร็งท่อน้ำดี โดยใช้กรอบแนวคิดความต้องการด้านจิตวิญญาณของผู้ป่วยมะเร็งของ เทย์เลอร์ (Taylor, 2003) กลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่เป็นมะเร็งท่อน้ำดี จำนวน 267 ราย ที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ถึง เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 เครื่องมือที่ใช้ในการรวมรวมข้อมูลคือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและแบบสอบถามความต้องการด้านจิตวิญญาณของผู้ที่เป็นมะเร็งท่อน้ำดี ที่มีค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอน บาคเท่ากับ .93 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 55.80 มีความต้องการด้านจิตวิญญาณโดยรวมอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่กลุ่มตัวอย่างมีความต้องการในระดับสูง ได้แก่ ด้านการเชื่อมโยงกับศาสนา สิ่งสูงสุดและสิ่งยึดเหนี่ยวอื่น (ร้อยละ 72.30) ด้านการมีความหมายและเป้าหมายในชีวิต (ร้อยละ 71.50) ด้านการให้ความรักแก่ผู้อื่นและการได้รับความรักจากผู้อื่น (ร้อยละ 61.80) ด้านการมีทัศนคติเชิงบวกและความหวัง (ร้อยละ 61.00) และด้านการทบทวนเรื่องความเชื่อ (ร้อยละ 51.70) ส่วนด้านที่กลุ่มตัวอย่างมีความต้องการในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านการปฏิบัติกิจกรรมตามความเชื่อทางศาสนา (ร้อยละ 66.30) และด้านการเตรียมพร้อมในการเข้าสู่ความตาย (ร้อยละ 65.90) นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างรายงานว่าสิ่งที่มีความหมายในชีวิตและทำให้ชีวิตมีคุณค่า ได้แก่ บุญกรรมที่ได้ทำมา (ร้อยละ 34.10) คำสอนสั่งทางศาสนา (ร้อยละ 24) และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ (ร้อยละ 17.20) ตามลำดับ ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับพยาบาลและบุคลากรทางสุขภาพในการวางแผนให้การช่วยเหลือเพื่อตอบสนองความต้องการด้านจิตวิญญาณของผู้ที่เป็นมะเร็งท่อน้ำดีในขณะอยู่โรงพยาบาล ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและความผาสุกทางจิตวิญญาณ การศึกษาครั้งต่อไปควรมีการศึกษาวิธีการที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณของกลุ่มประชากรนี้en_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT164.93 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX849.89 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1201.18 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2356.82 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3182.85 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4417.9 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5149.91 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT141.19 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER584.23 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE252.94 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.