Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39292
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.วรพงศ์ ตระการศิรินนท์-
dc.contributor.authorอารักษ์ กัมปนาทบวรen_US
dc.date.accessioned2016-05-19T08:05:42Z-
dc.date.available2016-05-19T08:05:42Z-
dc.date.issued2557-11-03-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39292-
dc.description.abstractThe study “The Readiness of the Public Management Quality Award Development of Chiang Mai Land Office” aimed to 1) study Factors affecting readiness of the Public Management Quality Award 2) study The readiness of the Public Management Quality Award and 3) study The obstacle problem of how to develop the Public Management Quality Award of Chiang Mai Lands office. The study was done as a qualitative research methodology using case study by the in-depth interview on relevant groups. Recipients used in this research projects were 3 groups of 16 people as 3 persons of Chiang Mai provincial land officer, 10 persons of government officer or employee of land office and 3 persons of joint working group between government and civil society. 1. Factors affecting readiness of the Public Management Quality Award at Sansai District Lands office, Chiang Mai were environmental organizations management participation and network. Racing factors such as internal factors that can be controlled and managed by piece on the important of the leaders and its members in the organization. 2. The readiness of the Public Management Quality Award which analysied of the expression rank determination and commitment of management and staff of Chiang Mai Land Office in the following :2.1 Environmental organizations ; Modified corporate culture by creating a new spirit of services for the people, worked with the mentally , applied of the government plans to the development of quality management in the different for the public sectors, Reorganized to suit the management and resource development to be ready to service for the people. 2.2 Management ; Gived priority to plan and set goals performance in both the short and long term. Provided a unified government , Human resource management for motivation and morale of the staff and developed a plan to effectively control of the organization. 2.3 Participation ; Encouraged participation at all stages the Public Management Quality Award such as participation in decision - making and practice, participation in profit - sharing and monitoring release. 2.4 Network ; Supported partnerships between government and civil society to learn and share together in order to develop services impact for the people. 3. The obstacle problem of how to develop the Public Management Quality Award of Chiang Mai Lands office. The finding of the research were found as the following ; Staffs did not accept the changes and still familiar with a corporate culture. The project ran without a budget management. There was not enough staffs for the project operation. The lack of staff understanding and public relation about the project .en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการบริหารจัดการภาครัฐen_US
dc.subjectสำนักงานที่ดินจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.titleความพร้อมในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานที่ดินจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe readiness of the public management Quality Award Development of Chiang Mai Land Officeen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc352.63-
thailis.controlvocab.thashระบบราชการ-
thailis.controlvocab.thashการปฏิรูประบบราชการ-
thailis.controlvocab.thashสำนักงานที่ดิน--เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 352.63 อ273ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง “ความพร้อมในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงาน ที่ดินจังหวัดเชียงใหม่” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ผลต่อความพร้อมในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ศึกษาความพร้อมในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานที่ดินจังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research Methodology) โดยใช้วิธีกรณีศึกษา (Case Study) ข้อมูลที่ใช้ในศึกษามาจากการสัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องจำนวน 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้บริหารของสำนักงานที่ดิน จำนวน 3 คน ข้าราชการของสำนักงานที่ดินจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 10 คน และคณะทำงานร่วมระหว่างภาครัฐและภาคประชาชน จำนวน 3 คน รวมทั้งสิ้นจำนวน 16 คน และศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนัก งานที่ดินจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ ด้านสภาพแวดล้อมองค์การ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการมีส่วนร่วม และด้านการสร้างเครือข่าย ซึ่งปัจจัยดังกล่าวเป็นเป็นปัจจัยภายใจองค์การที่สามารถควบคุมและบริหารจัดการได้ ขึ้นอยู่กับการให้ความสำคัญของผู้นำและสมาชิกภายในองค์การ 2. ความพร้อมในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานที่ดินจังหวัด เชียงใหม่ วิเคราะห์จากการแสดงออกถึงความมุ่งมั่นและตั้งใจของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานที่ดินจังหวัดเชียงใหม่ ในประเด็นดังต่อไปนี้ 2.1 ด้านสภาพแวดล้อมขององค์การ ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์การโดยสร้าง จิตสำนักในการให้บริการประชาชนและการทำงานในเชิงรุก การนำแผนปฏิบัติราชการมาปรับใช้ร่วมกับแผนการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในหมวดต่างๆ การปรับโครงสร้างองค์การให้มีความเหมาะสมต่อการบริหารจัดการ และการพัฒนาทรัพยากรองค์การในด้านต่างๆ ให้พร้อมต่อการให้บริการประชาชน 2.2 ด้านการบริหารจัดการ ให้ความสำคัญต่อการวางแผนและกำหนดเป้าหมาย การดำเนินงานทั้งในระยะสั้นและระยะยาว การจัดองค์การเพื่อการบริหารส่วนราชการให้มีเอกภาพ การบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อสร้างแรงจูงใจและขวัญกำลังใจให้แก่บุคลากร และการจัดทำแผนควบคุมภายในองค์การให้มีประสิทธิผล 2.3 ด้านการมีส่วนร่วม สนับสนุนการสร้างการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนของ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยตั้งแต่การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ การมีส่วนร่วมในการแบ่งปันผลประโยชน์ และการมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล 2.4 ด้านเครือข่าย สนับสนุนการสร้างความร่วมมือกับคณะทำงานร่วมระหว่าง ภาครัฐและภาคประชาชน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และเกิดการพัฒนาในด้านต่างๆ ที่ส่งผลต่อการให้บริการประชาชน 3. ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานที่ดิน จังหวัดเชียงใหม่ พบสภาพปัญหาในด้านต่างๆ อาทิ บุคลากรไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงยังยึดติดกับวัฒนธรรมองค์การแบบเดิม ไม่มีการจัดสรรงบประมาณมาใช้ในการดำเนินงานโดยเฉพาะ ขาดแคลนบุคลากรในการดำเนินงาน บุคลาการยังขาดความรู้ความเข้าใจ และการประชาสัมพันธ์ยังไม่ทั่วถึงบุคลากรทุกระดับในองค์การ เป็นต้นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT281.32 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX576.35 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1315.09 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2629.56 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3244.57 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 41.22 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5333.89 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT290.37 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER763.63 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE350.39 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.