Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/37859
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์ | - |
dc.contributor.advisor | สุคนธ์ ประสิทธิ์วัฒนเสรี | - |
dc.contributor.author | อรณัฐ หวังดี | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-03-11T10:37:15Z | - |
dc.date.available | 2015-03-11T10:37:15Z | - |
dc.date.issued | 2014-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/37859 | - |
dc.description.abstract | การระบุเพศที่ถูกต้องของโครงกระดูกมนุษย์นั้นมีความสำคัญอย่างมากในทางนิติเวชวิทยาศาสตร์แต่ก็เป็นเรื่องที่พบได้ไม่บ่อยนักกับการที่จะพบโครงกระดูกในสถานที่เกิดเหตุมักต้องเป็นคดีที่มีความจำเพาะ อาทิเช่น ศพจมน้ำ หรือถูกฝังดินเป็นต้นเมื่อเวลาผ่านล่วงเลยไปร่างของศพจะเกิดการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติก็จะสามารถมองเห็นกระดูกได้จากกรณีดังกล่าวจึงสามารถนำไปสู่การตรวจพิสูจน์ทางด้านนิติมานุษยวิทยาได้ต่อไป ในการจำแนกเพศจากโครงกระดูกส่วนของกระดูกที่นิยมถูกนำมาใช้มากที่สุด คือ ส่วนของกระดูกเชิงกราน( pelvis)เนื่องจากส่วนของกระดูกดังกล่าวมีความแตกต่างในแต่ละเพศค่อนข้างชัดเจน เพราะลักษณะของกระดูกเชิงกรานมีความสัมพันธ์กับหน้าที่ของระบบการทำงานในแต่ละเพศ ด้วยเหตุที่ยังไม่มีผู้ที่ทำการศึกษาในเรื่องนี้ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้สนใจทำการศึกษาประสิทธิภาพของการแยกเพศโดยใช้ลักษณะภายนอกของกระดูกเชิงกรานในกลุ่มของประชากรไทย โดยศึกษาจากโครงกระดูกเชิงกราน (pelvis) ที่ทราบเพศและอายุ (ขณะเสียชีวิต) ของผู้อุทิศร่างกาย ณ ศูนย์วิจัยนิติวิทยากระดูก (Forensic Osteology Research Center,FORC) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีจำนวน 438 โครง โดยแบ่งเป็นเพศชาย 276 โครง เพศหญิง 162 โครง อายุระหว่าง 15-96 ปี ในการวิจัยครั้งนี้เลือกกลุ่มตัวอย่างจำนวน 300 โครง แบ่งเป็นเพศชาย 150 และเพศหญิง 150 โครง ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยจึงได้สนใจการศึกษาการแยกเพศของกระดูกเชิงกรานโดยใช้การวิเคราะห์ลักษณะรูปร่างของกระดูกเชิงกราน ทั้งหมด 10 ตัวแปร คือ greater sciatic notch, subpubic concavity, pre- and post-auricular sulcus, iliac fossa, acetabulum, ischiopubic ramus, composite arch, ventral arch, pubic bone shape and dorsal pubic pitting ผลการศึกษาที่ได้คือ โดยสามารถจัดลำดับตัวแปรที่สามารถระบุเพศได้ดีที่สุดสามตัวแปรมี ค่าเฉลี่ยของความถูกต้องในการระบุเพศของทั้ง 2 เพศ คือ อันดับแรก Sub pubic angles 98.5% ถัดมา Greater sciatic notch อยู่ที่ 98.9% ลำดับสุดท้ายคือ Pubic bone shape อยู่ที่ 97.9% | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ประสิทธิภาพของการตรวจเพศโดยใช้ลักษณะภายนอกของกระดูกเชิงกรานในกลุ่มของประชากรไทย | en_US |
dc.title.alternative | Efficiency of sex determination by using external morphology of pelvis in Thai population | en_US |
thailis.classification.ddc | 363.25 | - |
thailis.controlvocab.thash | นิติวิทยาศาสตร์ | - |
thailis.controlvocab.thash | การตรวจศพ | - |
thailis.controlvocab.thash | กระดูกเชิงกราน | - |
thailis.controlvocab.thash | เพศ--การจำแนก | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว 363.25 อ174ป | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การระบุเพศที่ถูกต้องของโครงกระดูกมนุษย์นั้นมีความสำคัญอย่างมากในทางนิติเวชวิทยาศาสตร์แต่ก็เป็นเรื่องที่พบได้ไม่บ่อยนักกับการที่จะพบโครงกระดูกในสถานที่เกิดเหตุมักต้องเป็นคดีที่มีความจำเพาะ อาทิเช่น ศพจมน้ำ หรือถูกฝังดินเป็นต้นเมื่อเวลาผ่านล่วงเลยไปร่างของศพจะเกิดการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติก็จะสามารถมองเห็นกระดูกได้จากกรณีดังกล่าวจึงสามารถนำไปสู่การตรวจพิสูจน์ทางด้านนิติมานุษยวิทยาได้ต่อไป ในการจำแนกเพศจากโครงกระดูกส่วนของกระดูกที่นิยมถูกนำมาใช้มากที่สุด คือ ส่วนของกระดูกเชิงกราน( pelvis)เนื่องจากส่วนของกระดูกดังกล่าวมีความแตกต่างในแต่ละเพศค่อนข้างชัดเจน เพราะลักษณะของกระดูกเชิงกรานมีความสัมพันธ์กับหน้าที่ของระบบการทำงานในแต่ละเพศ ด้วยเหตุที่ยังไม่มีผู้ที่ทำการศึกษาในเรื่องนี้ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้สนใจทำการศึกษาประสิทธิภาพของการแยกเพศโดยใช้ลักษณะภายนอกของกระดูกเชิงกรานในกลุ่มของประชากรไทย โดยศึกษาจากโครงกระดูกเชิงกราน (pelvis) ที่ทราบเพศและอายุ (ขณะเสียชีวิต) ของผู้อุทิศร่างกาย ณ ศูนย์วิจัยนิติวิทยากระดูก (Forensic Osteology Research Center,FORC) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีจำนวน 438 โครง โดยแบ่งเป็นเพศชาย 276 โครง เพศหญิง 162 โครง อายุระหว่าง 15-96 ปี ในการวิจัยครั้งนี้เลือกกลุ่มตัวอย่างจำนวน 300 โครง แบ่งเป็นเพศชาย 150 และเพศหญิง 150 โครง ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยจึงได้สนใจการศึกษาการแยกเพศของกระดูกเชิงกรานโดยใช้การวิเคราะห์ลักษณะรูปร่างของกระดูกเชิงกราน ทั้งหมด 10 ตัวแปร คือ greater sciatic notch, subpubic concavity, pre- and post-auricular sulcus, iliac fossa, acetabulum, ischiopubic ramus, composite arch, ventral arch, pubic bone shape and dorsal pubic pitting ผลการศึกษาที่ได้คือ โดยสามารถจัดลำดับตัวแปรที่สามารถระบุเพศได้ดีที่สุดสามตัวแปรมี ค่าเฉลี่ยของความถูกต้องในการระบุเพศของทั้ง 2 เพศ คือ อันดับแรก Sub pubic angles 98.5% ถัดมา Greater sciatic notch อยู่ที่ 98.9% ลำดับสุดท้ายคือ Pubic bone shape อยู่ที่ 97.9% | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 274.26 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 927.36 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 649.82 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 268.41 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 336.99 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 296.27 kB | Adobe PDF | View/Open |
CONTENT.pdf | CONTENT | 177.9 kB | Adobe PDF | View/Open |
COVER.pdf | COVER | 816.92 kB | Adobe PDF | View/Open |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 319.01 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.