Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80273
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNahathai Wongpakaran-
dc.contributor.advisorTinakon Wongpakaran-
dc.contributor.advisorDecha Tamdee-
dc.contributor.advisorPhuanjai Rattakorn-
dc.contributor.advisorJoshua TSOH-
dc.contributor.authorHou, Jiaen_US
dc.date.accessioned2024-11-28T17:41:43Z-
dc.date.available2024-11-28T17:41:43Z-
dc.date.issued2024-09-19-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80273-
dc.description.abstractBackground: Delirium, a severe neuropsychiatric syndrome characterized by acute cognitive disturbances and fluctuating consciousness, is common in older adults. Although delirium is diagnosed by clinicians, but the family caregivers are significant and the first people who should identify this condition. However, there are currently no easily accessible and user-friendly tools available for family caregivers to detect delirium in older adults, particularly in Thailand. This study aimed to develop a web-based tool for family caregivers in Thailand to detect delirium in older people. Material and Methods: This was a research and development study. The development process included a literature review, expert interviews, key informant consultations, focus group discussions, expert content validity, and a pilot test of the tool. The final items of the web-based tool named ‘delirium-detect’ included a 22-item symptom checklist that guided family caregivers through questions to assess delirium symptoms accurately, accessible on both personal computers and mobile devices, supporting Thai and English. Additionally, the delirium-detect provides daily homecare guidance and emphasizes early detection. Face and content validity was ensured through expert reviews, resulting in a content validity index of 1.00 (100%). Ordinal scoring was established to gauge the frequency and severity of symptoms. Pretests with 17 participants were conducted to provide feedback for refining the tool. In the final pilot test, 11 participants, all caregivers of older adults diagnosed with delirium, completed the questionnaires and the feasibility test on the website 'delirium-detect. Results: All 11 participants completed the questionnaires, indicating that the older persons they cared for met the criteria for delirium based on DSM-5, suggesting criterion validity However, in the item analysis, 10 out of the 22 items were not endorsed by some respondents (scored “0 (no abnormality)” or not applicable). During the pilot test with 11 participants, the tool was found to be feasible and received high satisfaction rates: 54.5% "Liked" the website, and 18.2% "Liked it a lot." Ease of use was reported as "Very easy" by 36.4% and "Easy" by another 36.4%. Understanding the content was generally high, with 45.5% of participants reporting that they "Well understand" the content and 45.5% indicating that they "Fairly understand" it. Participants spent an average of 9.09 minutes (± 2.10 minutes) using the tool, with the actual questionnaire taking around 5 minutes to complete. Conclusion: The delirium-detect tool proved accurate, practical, user-friendly, and suitable for family caregivers to use to detect delirium. The positive feedback underscores the tool's potential to aid significantly in the early detection of delirium in older adults. Further development and investigation in a larger population are required.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDetecting delirium in older people: the development of a new web-based tool for family caregiveren_US
dc.title.alternativeการตรวจพบภาวะเพ้อในผู้สูงอายุ: การพัฒนาเครื่องมือใหม่ผ่านเว็บสำหรับผู้ดูแลในครอบครัวen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshDelirium in old age-
thailis.controlvocab.lcshDelirium-
thailis.controlvocab.lcshOld age-
thailis.controlvocab.lcshCaregivers-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractบทนำ: ภาวะเพ้อเป็นกลุ่มอาการทางจิตประสาทที่รุนแรงมีลักษณะเด่นคือ ความแปรปรวนของภาวะพุทธิปัญญาและสติสัมปชัญญะที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ แม้ว่าการวินิจฉัยภาวะเพ้อต้องกระทำโดยแพทย์ แต่ผู้ดูแลคือบุคคลสำคัญ และเป็นคนแรกที่จะตรวจพบภาวะเพ้อนี้ อย่างไรก็ตามในประเทศไทย ยังไม่มีเครื่องมือที่เข้าถึงได้ง่ายและสะดวกในการใช้งานของผู้ดูแลในครอบครัวเพื่อค้นหาภาวะเพ้อในผู้สูงอายุ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครื่องมือออนไลน์สำหรับผู้ดูแลครอบครัวในประเทศไทยในการตรวจหาภาวะเพ้อในผู้สูงอายุ วัสดุและวิธีการ: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา กระบวนการพัฒนาประกอบด้วย การทบทวนวรรณกรรม การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ การปรึกษาผู้ให้ข้อมูลหลัก การสนทนากลุ่มเฉพาะ การตรวจสอบความเที่ยงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ และการทดสอบนำร่อง เครื่องมือ เครื่องมือ ที่อาศัยเวปนี้ได้ให้ชื่อว่า “ดิลิเรียม- ดีเทค” ซึ่งประกอบด้วยข้อคำถามทั้งสิ้น 22 ข้อ ที่จะช่วยให้ผู้ดูแลในครอบครัวให้ประเมินภาวะเพ้อได้ถูกต้อง เข้าถึงได้ทั้งโดยคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและอุปกรณ์มือถือ รองรับทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ยังมีคำแนะนำการให้การดูแลประจำวันและเน้นการตรวจหาภาวะเพ้อตั้งแต่เนิ่น ๆ ความถูกต้องเชิงเนื้อหาและความถูกต้อง ตามความคาดหมายได้รับการตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ โดยมีค่าดัชนีถูกต้องเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1.00 มีการกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนแบบลำดับขึ้นเพื่อตรวจสอบความถี่ และความรุนแรงของอาการ ได้มีการทดสอบนำร่องกับผู้เข้าร่วม 17 คนเพื่อให้คำแนะนำและแก้ไข ข้อคำถามต่าง ๆ และได้มีการทดสอบนำร่องกับผู้เข้าร่วมที่เป็นผู้ดูแลของบุคลลที่มีภาวะเพ้อจำนวน 11 คน โดยใช้เครื่องมือ ดิลิเรียม- ดีเทค รวมถึงมีการทดสอบความเป็นไปได้ของเครื่องมือ ผลการศึกษา: ในบรรดาผู้เข้าร่วมทั้งหมด 11 คน ได้ตอบคำถามที่บ่งชี้ว่าเข้าเกณฑ์การวินิจฉัยว่ามีภาวะเพ้อตามเกณฑ์ DSM-5 แสดงให้เห็นถึงความถูกต้องในเชิงเกณฑ์ อย่างไรก็ตาม ในการวิเคราะห์ข้อคำถาม มีข้อคำถามจำนวน 10 ข้อจากจำนวน 22 ข้อไม่ได้รับการตอบ (ให้คะแนน 0 (ไม่มีความผิดปกติ) หรือ ไม่สามารถใช้ได้) ในการศึกษาความสะดวก พบว่าเครื่องมือดังกล่าวมีความเป็นไปได้และได้รับคะแนนความพึงพอใจสูง โดยร้อยละ 54.5 "ชอบ" เว็บไซต์และ ร้อยละ 18.2 "ชอบมาก" ความง่ายในการใช้งานได้รับการรายงานว่า "ง่ายมาก" ร้อยละ 36.4 และ "ง่าย" ร้อยละ 36.4 ผู้ตอบมีความเข้าใจเนื้อหาสูง โดยร้อยละ 45.5 ของอาสาสมัครรายงานว่า เนื้อหา "เข้าใจดี" และร้อยละ 45.5 ระบุว่า "ค่อนข้างเข้าใจ" เวลาเฉลี่ยที่ใช้กับเครื่องมือคือ 9.09 ± 2.10 นาที เฉพาะการทำแบบสอบถามใช้เวลาประมาณ 5 นาที สรุป: เครื่องมือค้นหาภาวะเพ้อที่พัฒนาขึ้นมานี้มีความถูกต้อง ใช้งานได้จริง ใช้งานง่าย และมีประสิทธิภาพสำหรับผู้ดูแลครอบครัวในการตรวจหาภาวะเพ้อ ดังนั้นจึงควรมีการส่งเสริมให้ญาติผู้ดูแลได้ใช้เครื่องมือนี้ในการช่วยตรวจหาภาวะเพ้อในผู้สูงอายุตั้งแต่เนิ่น ๆ และควรมีการพัฒนาและทำการศึกษาวิจัยในประชากรที่มีจำนวนมากขึ้นen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
652835817-Jia Hou.pdf2.45 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.