Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80272
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Pasuk Mahakkanukrauh | - |
dc.contributor.advisor | Nipon Theera-Umpon | - |
dc.contributor.advisor | Apichat Sinthubua | - |
dc.contributor.author | Supachard Krudtong | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-28T17:36:18Z | - |
dc.date.available | 2024-11-28T17:36:18Z | - |
dc.date.issued | 2024-08-29 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80272 | - |
dc.description.abstract | The personal identification of human skeletal remains is of great importance, with age at death being one of the key parameters. The hip joint, which includes the acetabulum and femoral head, is a crucial part of skeletal remains. The acetabulum, in particular, is one of the most well-preserved skeletal elements. Percent porosity and area ratio can provide insights into the age of the bone. Traditionally, age estimation of bones has been conducted by experts, but sending bone samples to specialists has its limitations. Nowadays, image processing techniques are widely used, making it much easier to send images for expert analysis. This research employs image processing techniques to assist in estimating the age of bones, using images of the acetabulum and femoral head from the Thai population. Samples were collected from 167 skeletons, comprising 59 females aged 26 to 100 years and 108 males aged 26 to 97 years. The skeleton donations were made between 2011 and 2019. Color images were converted to grayscale, with pixel values ranging from 0 to 255. Dark gray pixels with values below a certain threshold were classified as porous pixels, while light gray pixels with values above the threshold were classified as bone pixels. Percent porosity of the acetabular fossa was calculated from acetabulum images, and percent porosity of the fovea capitis was calculated from femoral head images. Area ratios were also determined. The area ratio of the acetabulum was calculated as the ratio of the acetabular fossa area to the total acetabulum area. The area ratio of the femoral head was calculated as the ratio of the fovea capitis area to the total femoral head area. The interrelationships between these two main variables and age were analyzed using statistical methods. At a confidence level of 90% or a significance level of α = 0.10, a relationship exists between percent porosity and estimated age in males. The estimated age equation for the left side of the male acetabulum is A = 2.2776P – 25.2553 (R² = 0.3317), where A represents the estimated age and P represents percent porosity. There is also a relationship between area ratio and estimated age in the femoral head for both females and males, on both the left and right sides. For the right side of the female femoral head, the estimated age equation is A = 2.6049R + 33.7348 (R² = 0.2023), where A is the estimated age and R is the area ratio. The errors for percent porosity to estimated age equations range from 0 to 16 years, with average errors between 5 and 9 years. For area ratio to estimated age equations, errors range from 0 to 36 years, with average errors between 8 and 17 years. A significant challenge in this process is the cleanliness of the bones, as it directly affects pixel values, leading to potential inaccuracies. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Age estimation from acetabulum and femoral head using digital image processing techniques | en_US |
dc.title.alternative | การประเมินอายุจากอะเซตาบูลัมและฟีเมอรอลเฮดด้วยเทคนิคการประมวลผลภาพดิจิทัล | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Acetabulum (Anatomy) | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Digital images | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Identification | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การระบุตัวตนของโครงกระดูกมนุษย์เป็นเรื่องที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประเมิณอายุกระดูกเมื่อเสียชีวิตซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัยหลัก ข้อต่อสะโพกที่ประกอบด้วยเบ้ากระดูกสะโพก (acetabulum) และหัวกระดูกต้นขา (femoral head) เป็นส่วนสำคัญ เบ้ากระดูกสะโพกเป็นหนึ่งในองค์ประกอบของโครงกระดูกที่คงสภาพได้ดีที่สุด การวัดเปอร์เซ็นต์ความพรุนและอัตราส่วนพื้นที่สามารถให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอายุของกระดูกได้ การประมาณอายุของกระดูกแบบดั้งเดิมมักดำเนินการโดยผู้เชี่ยวชาญ แต่การส่งตัวอย่างกระดูกไปยังผู้เชี่ยวชาญนั้นมีข้อจำกัด ปัจจุบันเทคนิคการประมวลผลภาพถูกใช้อย่างแพร่หลาย ทำให้การส่งภาพเพื่อการวิเคราะห์จากผู้เชี่ยวชาญเป็นเรื่องง่ายขึ้น งานวิจัยนี้ใช้เทคนิคการประมวลผลภาพเพื่อช่วยในการประมาณอายุของกระดูก โดยใช้ภาพของเบ้ากระดูกสะโพกและหัวกระดูกต้นขาจากประชากรไทย เก็บตัวอย่างจากโครงกระดูกจำนวน 167 ร่าง ประกอบด้วยผู้หญิง 59 คน อายุระหว่าง 26 ถึง 100 ปี และผู้ชาย 108 คน อายุระหว่าง 26 ถึง 97 ปี โครงกระดูกที่รับบริจาคอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2554 ถึง พ.ศ. 2562 ภาพถ่ายสีถูกแปลงเป็นภาพเฉดสีเทา โดยค่าพิกเซลอยู่ในช่วง 0 ถึง 255 พิกเซลที่มีค่าความเข้มต่ำกว่าค่าที่กำหนดจะถูกจัดเป็นพิกเซลของรูพรุน ในขณะที่พิกเซลที่มีค่าความเข้มสูงกว่าค่าที่กำหนดจะถูกจัดเป็นเนื้อกระดูก เปอร์เซ็นต์ความพรุนของ acetabular fossa ถูกคำนวณจากภาพของเบ้ากระดูกสะโพก และเปอร์เซ็นต์ความพรุนของ fovea capitis ถูกคำนวณจากภาพของหัวกระดูกต้นขา นอกจากนี้ยังมีการคำนวณอัตราส่วนพื้นที่ โดยอัตราส่วนพื้นที่ของเบ้ากระดูกสะโพกถูกคำนวณจากอัตราส่วนพื้นที่ของ acetabular fossa ต่อพื้นที่รวมของเบ้ากระดูกสะโพก และอัตราส่วนพื้นที่ของหัวกระดูกต้นขาถูกคำนวณจากอัตราส่วนพื้นที่ของ fovea capitis ต่อพื้นที่รวมของหัวกระดูกต้นขา ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหลักสองตัวนี้และอายุถูกวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 90% หรือระดับนัยสำคัญ α = 0.10 พบความสัมพันธ์ระหว่างเปอร์เซ็นต์ความพรุนและอายุประเมินในผู้ชาย สมการอายุประเมินสำหรับเบ้ากระดูกสะโพกด้านซ้ายในผู้ชายคือ A = 2.2776P – 25.2553 (R² = 0.3317) โดยที่ A แทนอายุประเมิน และ P แทนเปอร์เซ็นต์ความพรุนของกระดูก นอกจากนี้ ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนพื้นที่และอายุประเมินในหัวกระดูกต้นขาทั้งผู้หญิงและผู้ชายทั้งด้านซ้ายและขวา สำหรับหัวกระดูกต้นขาด้านขวาในผู้หญิง สมการประมาณอายุคือ A = 2.6049R + 33.7348 (R² = 0.2023) โดยที่ A แทนอายุประเมิน และ R แทนอัตราส่วนพื้นที่ ความคลาดเคลื่อนของสมการเปอร์เซ็นต์ความพรุนและอายุประเมินอยู่ในช่วง 0 ถึง 16 ปี โดยมีความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 5 ถึง 9 ปี ส่วนความคลาดเคลื่อนของสมการอัตราส่วนพื้นที่และอายุประเมินอยู่ในช่วง 0 ถึง 36 ปี โดยมีความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 8 ถึง 17 ปี ข้อจำกัดที่สำคัญในกระบวนการนี้คือความสะอาดของกระดูก เนื่องจากมีผลโดยตรงต่อค่าความเข้มของพิกเซล อาจนำไปสู่อายุประเมินที่คลาดเคลื่อนอย่างมากได้ | en_US |
thesis.conceal | Publish (Not conceal) | en_US |
Appears in Collections: | BMEI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
612655902-ศุภชาติ กรุดทอง.pdf | 5.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.