Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80261
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | หทัยกาญจน์ เชาวนพูนผล | - |
dc.contributor.advisor | พักตร์วิภา สุวรรณพรหม | - |
dc.contributor.author | กนกวลี สิงห์รุ่งเรืองกิจ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-25T09:49:00Z | - |
dc.date.available | 2024-11-25T09:49:00Z | - |
dc.date.issued | 2566-06-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80261 | - |
dc.description.abstract | Objectives: The cross-sectional analytical study aimed to 1) investigate on the telepharmacy service model utilized in hospital settings. 2) study the benefits and barriers of telepharmacy services from the perspective of pharmacists, and 3) snalyze the variables associated to the telepharmaceutical services offered by hospitals under the Ministry of Public Health. Methods: sample were 952 hospitals under the Ministry of Public Health. Quota samples were chosen based on the different various types of hospitals. A questionnaire was utilized for collecting information between January 15 and February 15, 2023. Both descriptive and inferential statistics were used to analyze the data. Applying logistic regression statistics, evaluate telepharmacy service-related factors. Results: The survey included a participant of 421 hospitals, and 165 of them offered telepharmacy services, accounting for 39.19% of the total. Specialized hospitals provided the most services, with 80.0%, followed by large general hospitals with 72.00%. Telemedicine services combined with telepharmacy services were the type of service that offered the most services, followed by hospital-based medical services combined with telepharmacy services, with 52.12% and 39.39% of the total services provided. In addition to other hospitals, the community discovered a type of telepharmacy service, namely a service offered by the hospital in conjunction with sub-district health promoting hospitals. An approach to evaluating the effectiveness of existing services collect indicators for telepharmacy services in just 60.00% of the institutions under consideration. About 69% of the hospitals in the study collected information on clinical/medication outcomes and service process results. Data on clinical/medication outcomes findings were collected mostly for adverse drug reactions (77.19%), secondly for medication compliance (76.74%). The service process outcome that collected the most data was also the number of patients using telepharmacy services, followed by patient satisfaction 83.95% and 64.20%, respectively. According to pharmacists' perceptions on the benefits and barriers of telepharmacy services, hospitals that offered these services scored higher than hospitals in terms of pharmacists' perceptions of the benefits. Service access (4.57±0.53 VS 4.30±0.62)(p<0.001), service coverage (4.19±0.71 VS 4.03±0.71) (p=0.026), service quality (4.14±0.58 VS 3.86±0.72) (p<0.001), and service safety (3.85±0.67 VS 3.71±0.56) (p=0.019) all demonstrated statistically significant differences (p<0.05). Regarding the perspectives of the barriers to telepharmacy services, it was discovered that hospitals that offered telepharmacy services had significantly lower mean scores of perceives each barrier than hospitals that did not offer tele-pharmaceutical services (p<0.05). These barriers included leadership and governance (3.03 ±1.15 VS 3.37 ± 0.94) (p=0.001), medical technology (3.12± 1.11 VS 3.43 ± 1.03) (p=0.003), health information system (3.54±0.92 VS 3.76 ±0.79) (p=0.009), and the service system (3.44±1.01 VS 3.67 ± 0.93) (p=0.018) Factors related to remote pharmacy services with statistical significance were hospital types, such as center hospitals(OR=6.69; 95%C1-1=1.84-24.29)(p=0.004), large general hospitals(OR =6.21; 95%C1=1.94-19.83) (p=0.002), small general hospitals (OR=7.56; 95%C1=2.46-23.18)(p<0.001) and specialized hospitals (OR=11.33; 95%C1=3.72-34.46) (p<0.001). The benefits of telepharmacy services from the pharmacist's perspective were service access (OR=1.76; 95%Cl-1.14-2.72) (p=0.011) and service quality (OR=1.57; 95%C1=1.07-2.31) (p=0.021). Leadership and governance were the perspectives on the barriers of telepharmacy services (OR=0.73; 95%C1=0.58-0.91) (p=0.005). Conclusion: Telepharmacy is the delivery of pharmaceutical services. Telepharmacy is the use of information and communication technology by pharmacists to provide pharmaceutical services. To provide medication guidance and other drug-related services. According to the abities and resources of each hospital, many service models for hospital services are developed. The main stakeholders in the provision of services are pharmacists. The implementation of telepharmacy services in the delivery of services is influenced by the pharmacist's perspective on the benefits and barriers of providing services. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | เภสัชกรรมทางไกล | en_US |
dc.subject | Telepharmacy | en_US |
dc.title | รูปแบบการให้บริการเภสัชกรรมทางไกลและมุมมองของเภสัชกรต่อประโยชน์และอุปสรรคของการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล | en_US |
dc.title.alternative | Service patterns and pharmacist’s perspective on the benefits and barriers of telepharmacy services | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การบริบาลทางเภสัชกรรม | - |
thailis.controlvocab.thash | เภสัชกรรมของโรงพยาบาล | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาล -- ระบบการจ่ายยา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วัตถุประสงค์: การวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบ การให้บริการเภสัชกรรมทางไกลของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 2) ศึกษามุมมองของ เภสัชกรต่อประโยชน์และอุปสรรคของการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล และ 3) ศึกษาปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับการให้บริการเภสัชกรรมทางไกลของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข วิธีการ : กลุ่มตัวอย่าง คือ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขจำนวน 952 แห่ง เลือกตัวอย่างแบบโควตาตามประเภทโรงพยาบาล เก็บข้อมูลโดยใช้แบบบสอบถาม ระหว่าง วันที่ 15 มกราคม - 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน วิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล ด้วยสถิติดถถอยพหุโลจิสติก (logistic regression) ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างโรงพยาบาลเข้าร่วมการศึกษา 421 แห่ง มีการให้บริการเกสัชกรรม ทางใกลจำนวน 165 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 39.19 ของจำนวนโรงพยาบาลทั้งหมด โดยโรงพยาบาล เฉพาะทางให้บริการมากที่สุด รองลงมา คือ โรงพยาบาลทั่วไปขนาดใหญ่ ร้อยละ 80.00 และ 72.00 ของจำนวนโรงพยาบาลแต่ละประเภท ตามลำดับ รูปแบบการให้บริการที่มีการให้บริการมากที่สุด คือ บริการแพทย์ทางไกลร่วมกับบริการ เภสัชกรรมทางไกล รองลงมา คือ บริการการแพทย์ที่โรงพยาบาลร่วมกับบริการเภสัชกรรมทางไกล ร้อยละ 52.12 และ 39.39 ของจำนวนโรงพยาบาลที่ให้บริการเภสัชกรรมทางไกล ตามลำดับ นอกจากนี้ โรงพยาบาลชุมชนพบรูปแบบการให้บริการเภสัชกรรมทางไกลเพิ่มเติมจากโรงพยาบาลประเภทอื่นๆ คือ รูปแบบการให้บริการของโรงพยาบาลร่วมกับรพ.สต. วิธีการประเมินผลลัพธ์ของบริการ กลุ่มตัวอย่างโรงพยาบาลร้อยละ 60.00 ของจำนวน โรงพยาบาลที่ให้บริการเภสัชกรรมทางไกล มีการเก็บข้อมูลตัวชี้วัดของบริการ ซึ่งส่วนใหญ่ ร้อยละ 68.69 มีการเก็บข้อมูลทั้งผลลัพธ์ทางคลินิก/ด้านการใช้ยาและผลลัพธ์ด้านกระบวนการให้บริการ โดยผลลัพธ์ทางคลินิก/ด้านการใช้ยามีการเก็บข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยามากที่สุด รองลงมา คือ ความร่วมมือในการใช้ยา ร้อยละ 77.91 และ 76.74 ตามลำดับ และผลลัพธ์ด้าน กระบวนการให้บริการมีการเก็บข้อมูลจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับบริการมากที่สุด รองลงมา คือ ความพึง พอใจของผู้ป่วย ร้อยละ 83.95 และ 64.20 ตามลำคับ มุมมองของเภสัชกรต่อประโยชน์และอุปสรรคของการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล พบว่า โรงพยาบาลที่ให้บริการเภสัชกรรมทางไกลมีคะแนนเฉลี่ยมุมมองต่อประ โยชน์มากกว่าโรงพยาบาล ที่ไม่ให้บริการเถสัชกรรมทางไกลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ได้แก่ ด้านการเข้าถึงบริการ (4.57±0.53 VS 4.30±0.62) (p<0.001) ด้านความครอบคลุมการบริการ(4.19±0.71 VS 4.03±0.71) (p=0.026) ด้านคุณภาพบริการ (4.14±0.58 VS 3.86±0.72) (p<0.001) และด้านความปลอดภัย (3.85±0.67 VS 3.71±0.56) (p=0.019) และมุมมองต่ออุปสรรคของการให้บริการเกสัชกรรมทางไกล พบว่า โรงพยาบาลที่ให้บริการเภสัชกรรมทางไกลมีคะแนนเฉลี่ยมุมมองต่ออุปสรรคน้อยกว่า โรงพยาบาลที่ไม่ให้บริการเภสัชกรรมทางไกลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ได้แก่ ด้านผู้นำและ การอภิบาล (3.03+1.15 VS 3.37:0.94) (p.001) ด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์ (3.12±1.11 VS 3.43±1.03) (p=0.003) ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ (3.54±0.92 VS.3.76±0.79) (p=0.009) และ ด้านระบบบริการ (3.44±1.01 VS 3.67±0.93) (p=0.018) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการให้บริการเภสัชกรรมทางไกลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ประเภท โรงพยาบาลประเภท ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์ (OR=6.69, 95%C1=1.84-24.29) (p=0.004) โรงพยาบาล ทั่วไปขนาดใหญ่ (OR-6.21; 95%C1=1.94-19.83) (p=0.002) โรงพยาบาลทั่วไปขนาคเล็ก (OR-7.56; 95%C1= 2.46-23.18) (p<0.001) และ โรงพยาบาลเฉพาะทาง (OR-11.33; 95%Cl=3.72-34.46) (p<0.001) มุมมองต่อประโยชน์ของการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล ได้แก่ ด้านการเข้าถึงบริการ (OR=1.76; 95%C1=1.14-2.72) (p-011)และค้านคุณภาพบริการ (OR=1.57;95%C1=1.07-2.31) (p-0.021) และมุมมองต่ออุปสรรคของการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล ด้านผู้นำและการอภิบาล (OR=0.73; 95%C1=0.58-0.91) (p=0.005) สรุปผลการศึกษา: บริการเภสัชกรรมทางไกลเป็นการให้บริการทางเภสัชกรรม โดยเภสัชกร ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อให้คำปรึกษาด้านยาและให้บริการต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับ ยา การพัฒนารูปแบบการบริการให้บริการของโรงพยาบาลมีความแตกต่างกันตามทรัพยากรและ ศักยภาพของแต่ละ โรงพยาบาล ซึ่งเกสัชกรเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักของการให้บริการ มุมมองของของ เภสัชกรต่อประโยชน์และอุปสรรคของการให้บริการจึงเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำบริการเภสัชกรรม ทางไกลไปประยุกต์ใช้ในการให้บริการ | en_US |
Appears in Collections: | PHARMACY: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
641031020 กนกวลี สิงห์รุ่งเรืองกิจ.pdf | 2.22 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.