Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80257
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยศธนา คุณาทร | - |
dc.contributor.author | เอกสิทธิ์ ใจเอื้อน | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-24T17:59:08Z | - |
dc.date.available | 2024-11-24T17:59:08Z | - |
dc.date.issued | 2567-08-30 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80257 | - |
dc.description.abstract | Suspended solids in water are detrimental to power plant production. Statistical data from the field turbidity monitoring states different solid particle reduction performance between two existing solid contact clarifiers. This study compares their turbidity reduction efficiencies and discusses treatment characteristics of these clarifiers. The clarifiers feature circular basins with a dual layer of baffles and different internal mixing agitation. The first clarifier (CLR47) has the inner baffle as a truncated polygon with a lateral inlet. The second clarifier (CLR89) has a 30-degree tangential inlet attached to a small circular inner baffle. The Lattice Boltzmann Method (LBM) computational method was employed for fluid flow computation. Particles with 13 different diameter sizes ranged from 20 microns to 850 microns were accounted for suspended solid modeling via discrete phase model (DPM). The numerical model presents the overall solid settling efficiency as 46% and 78% for CLR47 and CLR89 respectively. The low recirculation within the mixing region and effluent high contamination of 20 microns size class particles of design CLR89 were noticed. While the CLR47 model has greater turbidity reduction despite greater maintain mixing efficiency for a higher flocculation rate expectation. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ถังตกตะกอน | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์สมรรถนะการลดความขุ่นระหว่างถังตกตะกอน 2 แบบ ในโรงไฟฟ้าแม่เมาะด้วยพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ | en_US |
dc.title.alternative | Turbidity reduction performance analysis between two clarifiers in Mae Moh Power Plant by using computational fluids dynamics | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | โรงไฟฟ้าแม่เมาะ | - |
thailis.controlvocab.thash | การตกตะกอน | - |
thailis.controlvocab.thash | ความขุ่น | - |
thailis.controlvocab.thash | พลศาสตร์ของไหล | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงไฟฟ้า -- ลำปาง | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายในการวิเคราะห์ปัจจัยในการลดความขุ่นในน้ำของที่แตกต่างกันของถังตกตะกอน 2 แบบที่ใช้งานในโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ถังตกตะกอนในการศึกษาทรงกระบอกที่มีการใช้แผ่นกั้นในการแบ่งพื้นชั้นในและชั้นนอกโดยปล่อยน้ำขาเข้าทางด้านข้างโดยที่ถังตกตะกอน CLR47 มีการใช้แผ่นกันชั้นในรูปร่างคล้ายพีระมิดฐาน 12 เหลี่ยมติดตั้งไว้ชิดกับพื้นถัง และถังตกตะกอน CLR89 จะใช้แผ่นกั้นชั้นในรูปร่างทรงกระบอกโดยมีท่อน้ำเขาเข้ามาในแนวเส้นสัมผัส แบบจำลองการไหลภายในถังตกตะกอนถูกโดยใช้พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ (CFD) ผ่านโปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้ Lattice Boltzmann Method (LBM) และจำลองอนุภาคตะกอนทำโดยใช้เทคนิค Discrete Phase Model (DPM) ซึ่งกำหนดขนาดตะกอนแบ่งเป็น 13 ขนาดอยู่ในช่วง 20 ไมครอนถึง 250 ไมครอน ผลจากการสร้างแบบจำลองแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของเทคนิคในการบำบัดความขุ่นในน้ำของถังตกตะกอนโดยพบว่า CLR89 มีประสิทธิภาพการกวนผสมสูงถึงร้อยละ 60 ในช่วงเวลาแรก และลดลงต่ำกว่าร้อยละ 10 ในเวลาอันสั้น แต่กลับให้ประสิทธิภาพการตกตะกอนที่รวดเร็วและสูงถึงร้อยละ 78 ในทางตรงกันข้าม CLR47 แสดงให้เห็นการตกตะกอนที่ช้ากว่าและมีประสิทธิภาพต่ำกว่าที่ร้อยละ 46 แต่ยังคงมีประสิทธิภาพการกวนผสมได้ต่ำกว่าร้อยละ 30 เมื่อเวลาผ่านไป ด้วยความสามารถในการกวนผสมที่ยาวนานทำให้การลดความขุ่นในน้ำขาออกที่มาจากอนุภาคตะกอนของ CLR47 ทำได้ดีกว่าและมีโอกาสเกิดการตกตะกอนที่เกิดจากการรวมตะกอนได้มากกว่า | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630631138-เอกสิทธิ์ ใจเอื้อน.pdf | 21.87 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.