Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80226
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Oo, Yamin | - |
dc.date.accessioned | 2024-11-21T09:31:53Z | - |
dc.date.available | 2024-11-21T09:31:53Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80226 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาการกําหนดและการดําเนินการของการประชุมศาลากลางในพื้นที่เฉพาะใน เมียนมา และระบุปัจจัยสนับสนุนและยับยั้งการส่งเสริมการประชุมศาลากลางทั่วประเทศ คําถามการ วิจัยได้รับการแก้ไขโดยใช้กรอบการวิเคราะห์ 3 แบบ ได้แก แนวทางการศึกษาเชิงสถาบัน กรอบ แนวคิดหลายกระแส (MSF) และแนวทางสามเหลี่ยมแห่งอนาคต การศึกษานี้พบว่าวิวัฒนาการของ องค์กรกิจการเพื่อการพัฒนา (DAO) ในเมียนมาตั้งแต่ยุคอาณานิคมจนถึงปัจจุบัน มีอิทธิพลต่อการ กําหนดและการดําเนินการของการประชุมศาลากลาง โดยระบุว่าองค์กรภาคประชาสังคมเป็น ผู้ประกอบการด้านนโยบายที่สนับสนุนนโยบายการมีส่วนร่วมของพลเมือง ซึ่งนําไปสู่การกําหนดการ ประชุมศาลากลางอย่างรวดเร็วในภูมิภาคซากาอิง งานวิจัยนี้ได้วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการเมือง ปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่ และข้อเสนอเชิงนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการประชุมสภาเมืองโดยใช้ MSF และ แนวทางสามเหลี่ยมแห่งอนาคตโดยเน้นปัจจัยสนับสนุนและปัจจัยขวางกั้นการส่งเสริมการประชุม ศาลากลางทั่วประเทศ ตลิดจนตรวจสอบกฎหมายว่าด้วยการพัฒนา การเป็นอิสระทางการเมือง การ ดําเนินการก่อนหน้านี้ที่ประสบความสําเร็จ การปรับปรุงการตอบสนอง และความสอดคล้องกับ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นปัจจัยสนับสนุน ด้านปัจจัยขวางกั้นได้กล่าวถึงภูมิหลังทาง ประวัติศาสตร์ของการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีความอ่อนแอ เจตจํานงของเจ้าหน้าที่แต่ละคน และผลกระทบของการทํารัฐประหาร ซึ่งขัดขวางกระบวนการปฏิรูปและสร้างความไม่มั่นคงทางการ เมือง จากผลการวิจัย การศึกษานี้ได้ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสําหรับอนาคตที่ต้องการในการ ส่งเสริมการประชุมศาลากลางทั่วประเทศในเมียนมา ข้อเสนอแนะเหล่านี้รวมถึงการฟื้นฟูเสถียรภาพ ทางการเมือง การทบทวนและปรับปรุงกฎหมายเพื่อองค์กรกิจการเพื่อการพัฒนา การใช้ประโยชน จากการดําเนินการที่ประสบความสําเร็จ และพัฒนาแนวทางและคู่มือสําหรับการนําไปปฏิบัติอย่างมี ประสิทธิภาพ ทว่าการศึกษานี้ยังชี้ให้เห็นถึงการขาดมุมมองจากผู้เชี่ยวชาญ องค์กรภาคประชาสังคม และสาธารณชนอย่างจํากัด แต่ก็มีการให้เสนอแนะว่าการวิจัยในอนาคตควรรวมข้อมูลนําเข้าที่ กล่าวถึงข้างต้นมาใช้ศึกษาวิเคราะห์ด้วยจึงจะให้ความเข้าใจที่ครอบคลุมมากขึ้นเกี่ยวกับงานวิจัยใน หัวข้อนี้ คําสําคัญ การประชุมศาลากลาง องค์กรกิจการเพื่อการพัฒนา การมีส่วนร่วมของประชาชน แนวทางการศึกษาเชิงสถาบัน กรอบแนวคิดหลายกระแส สามเหลี่ยมแห่งอนาคต This study explores the formulation and implementation of town hall meetings in a specific local area in Myanmar and identifies the supporting and inhibiting factors for promoting town hall meetings nationwide. The research questions are addressed using three analytical frameworks: the institutional approach, the multiple streams framework (MSF), and the futures triangle approach. The study reveals that the evolution of development affairs organizations (DAOs) in Myanmar, from the colonial period to the present, has influenced the formulation and implementation of town hall meetings. It identifies civil society organizations as policy entrepreneurs advocating for citizen engagement policies, which led to the rapid formulation of town hall meetings in the Sagaing Region. The study analyzes the political environment, emerging problems, and policy proposals related to town hall meetings, by using the MSF. The futures triangle approach highlights supporting and inhibiting factors for promoting town hall meetings nationwide. Development affairs laws, political autonomy, successful previous implementations, improving responsiveness, and alignment with sustainable development goals are identified as supporting factors. Inhibiting factors include the historical legacy of weak public engagement, the individual will of officials, and the impact of the military coup, which disrupted the reform process and created political instability. Based on the findings, the study provides policy recommendations for the desired future of promoting town hall meetings throughout Myanmar. These recommendations include restoring political stability, reviewing and updating development affairs laws, leveraging successful implementations, and developing guidelines and manuals for effective implementation. While the study acknowledges the lack of perspectives from experts, civil society organizations, and the public as a limitation, it suggests that future research should incorporate their inputs to obtain a more comprehensive understanding of the topic. Keywords: Town hall meetings, Development Affairs Organizations, Public participation, Institution approach, Multiple streams framework, Futures triangle | en_US |
dc.subject | Town hall meetings | en_US |
dc.subject | Development Affairs Organizations | en_US |
dc.subject | Public participation | en_US |
dc.subject | Institution approach | en_US |
dc.subject | Multiple streams framework | en_US |
dc.subject | Futures triangle | en_US |
dc.title | Enhancing municipal engagement: Townhall meeting initiatives in Myanmar | en_US |
dc.title.alternative | การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเทศบาล: การริเริ่มการประชุม ศาลากลางในเมียนมา | en_US |
article.epage | Independent Study (IS) | - |
Appears in Collections: | SPP: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
652535813_YAMIN OO-IS Report.pdf | Enhancing Municipal Engagement: Town Hall Meeting Initiatives in Myanmar | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.