Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80209
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Aranya Siriphon | - |
dc.contributor.advisor | Yos Santasombat | - |
dc.contributor.advisor | Lee Kian Cheng | - |
dc.contributor.author | Narita Chaithima | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T01:10:40Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T01:10:40Z | - |
dc.date.issued | 2024-09-16 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80209 | - |
dc.description.abstract | The study of Chinese student migration to foreign universities has attracted significant attention from scholars. Most studies primarily provide an overview of the motivations and structural factors influencing the decision to study abroad in both host and home countries. Meanwhile, analytical studies focusing on the lived experiences and practices of Chinese students’ education mobility, particularly capital accumulation and conversion, remain limited in contributing to an understanding of the complexities involved in their transnational education pathways. Therefore, this research investigates the phenomenon of transnational education mobility, with a specific focus on Chinese students in Northern Thai universities and their experiences of capital accumulation, utilization, and conversion. It aims to examine the main conditions influencing the decisions to study abroad for this new generation of Chinese students, emphasizing the roles of both the Chinese family and the state within contemporary society. Employing qualitative methods, the research includes document analysis and in-depth interviews with 18 Chinese students, capturing their experiences from pre-departure to the completion of their studies, as well as post-graduation. This research has revealed the following key findings: 1. Four main conditions influencing a new generation of Chinese students to pursue higher education in Northern Thai universities are their self-aspiration to study abroad, family support, the educational situation in China, and the academic goals at Northern Thai universities. 2. The dynamics of capital accumulation and conversion among the new generation of Chinese students are becoming increasingly diverse and complex, encompassing not only economic, social, and cultural capital but also “emotional capital.” They are shaped by academic experiences and cultural interactions in Northern Thailand, which is viewed as a destination for relaxation, embodying the concept of Man Sheng Huo (慢生活), or slow life, compared with their home country. In this context, the concept of forming and accumulating emotional capital highlights the importance of adaptability, resilience, and the ability to navigate emotions and relationships in new environments. This contrasts with “cultural capital,” which focuses on the acquisition of knowledge and its use as a form of social capital. 3. This study presents two noteworthy theoretical contributions. First, Bourdieu's concept of "capital" can be expanded to include "emotional capital" in the analysis of accumulation and conversion. This broadens the traditional understanding of capital by going beyond the economic, social, and cultural capital. Second, the trend of Chinese student migration to foreign universities has led to the emergence of "Chinese migration ripples." Notably, there are distinctions between historical and contemporary migration patterns. Traditionally, Chinese migrants sought opportunities primarily to enhance their economic standing. In contrast, contemporary migration encompasses not only capital accumulation and the use of economic and social capital but also places a stronger emphasis on "cultural capital." This shift is reflected in the pursuit of foreign degrees, specialized courses, language proficiency to access diverse job markets, and the adaptability and flexibility exhibited by Chinese students abroad. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Transnational mobility | en_US |
dc.subject | Education | en_US |
dc.subject | Capital accumulation | en_US |
dc.subject | Chinese students | en_US |
dc.subject | Northern Thai University | en_US |
dc.title | Transnational education mobility and dynamism of capital accumulation among Chinese Students in Northern Thai Universities | en_US |
dc.title.alternative | การเคลื่อนย้ายข้ามชาติทางการศึกษาและพลวัตการสะสมทุนของนักศึกษาจีนในมหาวิทยาลัยทางภาคเหนือของไทย | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Students -- China -- Migration | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Chinese students -- Thailand, Northern | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Population dynamics | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาการเคลื่อนย้ายของนักศึกษาจีนสู่มหาวิทยาลัยต่างประเทศได้รับความสนใจจากนักวิชาการศึกษาอย่างมาก แต่ส่วนใหญ่มักนำเสนอภาพรวมแรงจูงใจและเงื่อนไขเชิงโครงสร้างในการศึกษาต่อต่างประเทศยังประเทศปลายทางและประเทศต้นทางเป็นสำคัญ ขณะที่งานวิเคราะห์เชิงประสบการณ์และปฏิบัติการการเคลื่อนย้ายเพื่อการศึกษาของนักศึกษาจีนในปฏิสัมพันธ์กับการสะสมและแปลงทุนยังมีอยู่ไม่มากนักในการทำความเข้าใจความซับซ้อนด้านการศึกษาข้ามชาติของนักศึกษาจีน งานศึกษานี้จึงให้ความสนใจกับปรากฏการณ์การเคลื่อนย้ายข้ามชาติทางการศึกษา พลวัตการใช้และสะสมทุนของนักศึกษาจีนในมหาวิทยาลัยภาคเหนือของประเทศไทย เพื่อศึกษาบริบทเงื่อนไขสำคัญในการศึกษาต่อต่างประเทศของนักศึกษาจีนรุ่นใหม่ เชื่อมโยงกับบทบาทของครอบครัวจีนและบทบาทของรัฐจีนภายใต้บริบทสังคมสมัยใหม่ ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาจีนที่ศึกษาในมหาวิทยาลัยภาคเหนือของไทยจำนวน 18 คน รวบรวมข้อมูลประเด็นประสบการณ์ชีวิต ตั้งแต่ก่อนเดินทางจนศึกษาเสร็จสิ้นและหลังการศึกษา งานวิจัยนี้ มีข้อค้นพบสำคัญ ดังนี้ 1. บริบทเงื่อนไขสำคัญที่ทำให้นักศึกษาจีนรุ่นใหม่เข้ามาศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัยภาคเหนือของไทยมาจาก 4 ประการ คือ 1) ความปรารถนาส่วนตัวในการเรียนต่างประเทศ 2) การสนับสนุนจากครอบครัว 3) สภาวการณ์ด้านการศึกษาของรัฐจีน และ 4) เป้าหมายทางการศึกษาในมหาวิทยาลัยทางภาคเหนือของไทย 2. พลวัตการสะสมทุน การใช้และแปลงทุนของนักศึกษาจีนรุ่นใหม่มีรูปแบบหลากหลายซับซ้อนมากขึ้น ไม่เพียงแต่ครอบคลุมทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม แต่กลับพบการก่อรูปการสะสม ‘ทุนทางอารมณ์’ ซึ่งเกิดจากการเรียนรู้และมีปฏิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมในบริบททางภาคเหนือของไทย ที่ถูกมองว่า มีลักษณะผ่อนคลาย ดำเนินชีวิตอย่างค่อยเป็นค่อยไป (Man Sheng Huo (慢生活) หรือ slow life) เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศบ้านเกิด ในแง่นี้ การก่อรูปและสะสมทุนทางอารมณ์ หมายถึงการเรียนรู้การปรับตัว ความยืดหยุ่นและความสามารถในการจัดการอารมณ์และความสัมพันธ์ของตนเองในบริบทใหม่ๆ ซึ่งแตกต่างจาก “ทุนทางวัฒนธรรม” ที่มุ่งเน้นการได้ความรู้และแปลงไปสู่สินทรัพย์ทางสังคม 3) งานศึกษานี้ ยังชี้ให้เห็นนัยสำคัญทางทฤษฎี 2 ประเด็นสำคัญ คือ ประเด็นแรก มโนทัศน์เรื่อง “ทุน” ของ Bourdieu ที่มีความเป็นไปได้ในการนำ ‘ทุนทางอารมณ์’ มาเป็นองค์ประกอบการวิเคราะห์การสะสม ใช้และแปลงทุนได้ นอกเหนือจากทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม และทุนทางวัฒนธรรมที่เป็นองค์ประกอบทุนแบบเดิม ประเด็นที่สอง ปรากฏการณ์การเคลื่อนย้ายของนักศึกษาจีนรุ่นใหม่สู่มหาวิทยาลัยต่างประเทศ ชี้ให้เห็นประเด็น “ระลอกคลื่นแห่งการเคลื่อนย้ายของคนจีน” ในอดีตกับปัจจุบันที่แตกต่างกันอย่างน่าสนใจ กล่าวคือ ขณะที่การเคลื่อนย้ายของคนจีนในอดีตมีแนวโน้มการเคลื่อนย้ายเพื่อแสวงหาโอกาสในชีวิตเพื่อเพิ่มทุนทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ แต่การเคลื่อนย้ายของคนจีน กรณีศึกษานักศึกษาจีนรุ่นใหม่ปัจจุบัน แม้ว่า พลวัตการสะสมทุน การใช้และแปลงทุนเศรษฐกิจและทุนทางสังคมยังมีความสำคัญอย่างต่อเนื่อง แต่บทบาทของ “ทุนทางวัฒนธรรม” กลับมีแนวโน้มการใช้และแปลงทุนมากขึ้น ไม่ว่า การได้ปริญญาต่างประเทศ การเรียนหลักสูตรเฉพาะทาง ความสามารถทางภาษาเพื่อเข้าถึงโอกาสการทำงานที่หลากหลาย ความสามารถในการปรับตัว ความยืดหยุ่นในการใช้ชีวิตของนักศึกษา | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600455901.pdf | 3.72 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.