Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80208
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดนัย ลิขิตรัตน์เจริญ-
dc.contributor.authorปานวาด พัฒนากล้าen_US
dc.date.accessioned2024-11-20T01:05:30Z-
dc.date.available2024-11-20T01:05:30Z-
dc.date.issued2024-10-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80208-
dc.description.abstractThis independent study aimed to examine the effects of the sentiment indices on the return in the Stock Exchange of Thailand (SET) by taking the three sentiment indices that are the Investor Sentiment Index (ISI), Business Sentiment Index (BSI), and Consumer Confidence Index (CCI) as representative behavioral factors to test the return rate prediction capabilities in the SET. The Behavior Asset Pricing Model (BAPM) was used and each quintile of the security size and price data clusters was tested. This study used SET-registered company information from May 2016 to April 2024 and found that the sentiment indices not only remained effective for a specific period of time but remained effective after some time. The Business Sentiment Index rate of change in the same period and one previous period towards returns concurred with statistical significance and affected the small and low-price securities the most. The Consumer Confidence Index rate of change affected the return in the previous one and two periods in the SET with the concurring and contradicting direction with statistical significance, which affected the low-priced securities the most. The Investor Sentiment Index rate of change affected only the return in the immediately previous period in the same direction, and affected the small securities the most.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลกระทบของดัชนีความเชื่อมั่นที่มีต่อผลตอบแทนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeEffects of sentiment indices on returns of listed companies in the Stock Exchange of Thailanden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย-
thailis.controlvocab.thashบริษัทมหาชน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของดัชนีความเชื่อมั่นที่มีต่อผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยนำดัชนีความเชื่อมั่นทั้ง 3 ดัชนี ประกอบด้วย ดัชนีชี้วัดทัศนคติผู้ลงทุน ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ และดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภค เป็นตัวแทนของปัจจัยเชิงพฤติกรรม เพื่อทดสอบความสามารถในการทำนายอัตราผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้แบบจำลอง Behavior Asset Pricing Model (BAPM) อีกทั้งยังทดสอบผลกระทบในแต่ละระดับควินไทล์ของกลุ่มข้อมูลด้านขนาดและด้านราคาของหลักทรัพย์ โดยการศึกษานี้ใช้ข้อมูลกลุ่มบริษัทจดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2559 ถึง เมษายน พ.ศ.2567 จากผลการศึกษาพบว่าดัชนีความเชื่อมั่นไม่ได้มีผลแค่เพียงระยะเวลาเดียว แต่ยังส่งผลเมื่อระยะเวลาผ่านไปช่วงหนึ่งอีกด้วย โดยอัตราการเปลี่ยนแปลงดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคมีผลต่อผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในช่วงระยะเวลางวดเดียวกันและ 1 งวดก่อนหน้า ในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อีกทั้งส่งผลต่อกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีขนาดเล็กและกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีราคาต่ำมากที่สุด อัตราการเปลี่ยนแปลงดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคมีผลต่อผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในช่วง 1 งวดก่อนหน้าและ 2 งวดก่อนหน้า ในทิศทางเดียวกันและตรงกันข้ามอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งส่งผลต่อกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีราคาต่ำมากที่สุด และอัตราการเปลี่ยนแปลงดัชนีชี้วัดทัศนคติผู้ลงทุนมีผลต่อผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแค่เพียงในช่วงระยะเวลา 1 งวดก่อนหน้าเท่านั้น ในทิศทางเดียวกัน และยังส่งผลต่อระดับของกลุ่มหลักทรัพย์ขนาดเล็กมากที่สุดอีกด้วยen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ปานวาด พัฒนากล้า-631532160.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.