Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80196
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรัทยา แจ้งกระจ่าง-
dc.contributor.authorปฎิพัฒณ์ มังคลาดen_US
dc.date.accessioned2024-11-19T09:48:12Z-
dc.date.available2024-11-19T09:48:12Z-
dc.date.issued2024-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80196-
dc.description.abstractThis study aimed to investigate the service quality of aesthetic clinics that influences consumers' intention to revisit in Mueang District, Chiang Mai. Data were collected through a questionnaire, with a sample of 400 consumers who had previously used beauty clinic services in the area, selected using a convenience sampling method. Descriptive statistics, including frequency, percentage, mean, and standard deviation, were used for data analysis. Inferential statistics such as Independent t-test and ANOVA F-test were employed to analyze the intention to revisit beauty clinics based on consumers’ general demographic information. Multiple Regression Analysis (MRA) was utilized to examine the service quality factors affecting consumers’ intention to revisit. The results indicated that the majority of beauty clinic customers in Mueang District, Chiang Mai, were female, with the highest usage among those aged 26-35. Most respondents were single and held a bachelor's degree. The overall service quality was rated high, especially in terms of assurance, reliability, and responsiveness. Consumers expressed a high intention to revisit beauty clinics, with factors such as gender, age, education level, and occupation significantly influencing this intention. Specifically, women and consumers under the age of 25 showed a higher likelihood of revisiting. Key service quality factors influencing revisit intention included assurance, customer understanding, responsiveness, reliability, and tangibility, with a predictive accuracy of 84.20%, demonstrating a high level of precision in predicting repeat service usage, highlighting the significant impact of service quality on decision-making.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleคุณภาพบริการของคลินิกเสริมความงามที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการซ้ำของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeService quality of aesthetic clinics affecting intention to repeat service usage of customers in Mueang Chiang Mai Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashคลินิก -- ความพอใจของผู้ใช้บริการ-
thailis.controlvocab.thashคลินิก -- (เมือง) เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashงานบริการ-
thailis.controlvocab.thashความภักดีของลูกค้า-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพบริการของคลินิกเสริมความงามที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการซ้ำของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ กลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้บริโภคที่เคยใช้บริการของคลินิกเสริมความงาม ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบตามสะดวก จำนวน 400 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลความตั้งใจใช้บริการคลินิกเสริมความงามซ้ำ จำแนกตามข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ใช้สถิติเชิงอนุมาน Independent t-test และ ANOVA F-test และการวิเคราะห์คุณภาพ การบริการของคลินิกเสริมความงามที่ส่งผลต่อความตั้งใจที่จะใช้บริการซ้ำของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression. Analysis, MRA) ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ใช้บริการคลินิกเสริมความงามในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง กลุ่มอายุที่ใช้บริการมากที่สุดคือ 26-35 ปี มีสถานภาพโสดและมีการศึกษาระดับปริญญาตรี การประเมินคุณภาพบริการอยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะด้านความมั่นใจ ความน่าเชื่อถือ และการตอบสนองลูกค้า ผู้บริโภคมีความตั้งใจที่จะใช้บริการซ้ำในระดับมาก ซึ่งปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจนี้ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ โดยเฉพาะเพศหญิง และผู้มีอายุต่ำกว่า 25 ปี มีแนวโน้มใช้บริการซ้ำสูงกว่ากลุ่มอื่น และคุณภาพบริการที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการใช้บริการคลินิกเสริมความงามซ้ำ ได้แก่ การสร้างความมั่นใจแก่ลูกค้า การเข้าใจและรู้จักลูกค้า การตอบสนองลูกค้า ความน่าเชื่อถือ และความเป็นรูปธรรมของการบริการ โดยมีค่าอำนาจการทำนายที่ร้อยละ 84.20 แสดงถึงความแม่นยำสูงในการทำนายพฤติกรรมการกลับมาใช้บริการซ้ำของลูกค้า สะท้อนถึงอิทธิพลสำคัญของคุณภาพบริการต่อการตัดสินใจen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651532012 ปฏิพัฒน์ มังคลาด.pdf14.75 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.