Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80167
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Warat Leelapornpisid | - |
dc.contributor.advisor | Phenpichar Wanachantararak | - |
dc.contributor.advisor | Napatsorn Imerb | - |
dc.contributor.author | Patarawadee Promta | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-16T16:56:47Z | - |
dc.date.available | 2024-11-16T16:56:47Z | - |
dc.date.issued | 2024-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80167 | - |
dc.description.abstract | Objective: To evaluate the efficacy of calcium hydroxide nanoparticles (Ca(OH)2 NPs) in eliminating mixed-species biofilms composed of E. faecalis, S. gordonii and C. albicans. both in an in vitro and an ex vivo tooth model and evaluate the inhibitory effect of Ca(OH)2 NPs on osteoclast activity, as opposed to conventional Ca(OH)2. Method: Firstly, antimicrobial activity of Ca(OH)2 NPs was determined by the Alamar Blue assay to find the minimum biofilm inhibitory concentration (MBIC) and the minimum biofilm eradication concentration (MBEC) was assessed by colony counting on agar. Then, mixed-species biofilm of E. faecalis, S. gordonii and C. albicans (1:1:1) were inoculated in root dentin blocks for 21 days. The teeth were then randomly treated with different medicaments (each n=10): (i) Ca(OH)2 NPs, (ii) conventional Ca(OH)2 (Metapaste®) (iii) chlorhexidine (iv) normal saline. After 7 days of medication, dentine chips from the root canal were collected and the viable cell count was determined using a colony-forming unit assessment. The morphological structures of each group were analysed by using scanning electron microscopy (SEM). Secondly, to evaluate the anti-osteoclastic activity. The osteoclast differentiation was evaluated by Tartrate-resistant acid phosphatase (TRAP) activity. RAW 264.7 cells third – fifth passage were cultured in triplicated with soluble receptor activator of nuclear factor‐κB ligand (RANKL) in different conditions: (i) media (control) (ii) Metapaste® (iii) Ca(OH)2 NPs for 7 days. TRAP-positive cells with more than three nuclei were defined as mature osteoclasts. Quantification of mature osteoclasts was performed in each whole well. The cytotoxic effect of medicaments was performed by 3-(4,5-dimethylthiazol-2-yl)-2,5-diphenyltetrazolium bromide (MTT) assay. Results: An in vitro assay revealed that the MBIC of Ca(OH)2 NPs and conventional Ca(OH)2 was observed at 1:128 of primary concentration. At a 1:16 ratio of primary concentration to the given product concentration, Ca(OH)2 NPs efficiently inhibited polymicrobial biofilms compared to chlorhexidine. Additionally, it was observed that the lowest concentration of Ca(OH)2 NPs was able to eliminate all viable biofilm, as confirmed on the agar plate at a dilution of 1:16, while the MBEC of Ca(OH)2 required at least 1:8 concentration, showing no growth. Ex vivo analysis revealed the lowest viable cell count was recorded with chlorhexidine, followed by Ca(OH)2 NPs, Ca(OH)2 and normal saline..The group treated with Ca(OH)2 NPs showed a significant reduction in viable cell count compared to the group treated with Ca(OH)2 (p < 0.05). However, this reduction was not statistically significant compared to the group treated with chlorhexidine. Disruption of biofilm structure and clumps of debris were observed in Ca(OH)2 NPs by SEM. Furthermore, Ca(OH)2 NPs exhibited an inhibitory effect on osteoclast differentiation, resulting in a reduction in the size and also number of osteoclasts however non-statistically significant. Additionally, MTT analysis revealed that the Ca(OH)2 NPs group did not exhibit cytotoxic effects on RAW 264.7 cell viability. Conclusions: Ca(OH)2 NPs had the potential for antimicrobial activity in disrupting and eliminating mixed-species biofilms composed of E. faecalis, S. gordonii and C. albicans in both in vitro and ex vivo. Additionally, Ca(OH)2 NPs inhibited osteoclast differentiation, thus advocating for their use to enhance the success of root canal treatment. Ca(OH)2 NPs had potential to be used as an alternative intracanal medicament in cases of external inflammatory root resorption with persistent root canal infection. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Evaluation of Calcium Hydroxide Nanoparticles on the Anti-osteoclastic Activity and Antimicrobial Activity Against Endodontopathogenic Microorganisms in Mixed-species Biofilm Model | en_US |
dc.title.alternative | การประเมินประสิทธิภาพของอนุภาคนาโนแคลเซียมไฮดรอกไซด์ในการยับยั้งการเปลี่ยนแปลงเป็นเซลล์สลายกระดูก และต้านเชื้อจุลชีพก่อโรคในคลองรากฟันในแบบจำลองแผ่นชีวภาพผสม | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Dental pulp cavity | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Calcium hydroxide | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Pathogenic microorganisms | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Nanoparticles | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของอนุภาคระดับนาโนแคลเซียมไฮดรอกไซด์ในด้านการต้านเชื้อจุลชีพก่อโรคในคลองรากฟันลักษณะแผ่นจุลชีพผสม เปรียบเทียบกับแคลเซียมไฮดรอกไซด์แบบธรรมดาทั้งในหลอดทดลองและในรากฟันมนุษย์ และผลต่อการยับยั้งการเปลี่ยนแปลงเป็นเซลล์สลายกระดูกในเซลล์ไลน์หนู เปรียบเทียบกับแคลเซียมไฮดรอกไซด์แบบธรรมดาในหลอดทดลอง วัสดุและวิธีการ: ส่วนที่ 1 ทำการศึกษาประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อของอนุภาคระดับนาโนแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ในห้องปฏิบัติการโดยใช้วิธีอะลามาร์บลู (Alamar Blue) เพื่อหาความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งเชื้อได้ที่ร้อยละ 50 และความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถฆ่าเชื้อได้จากการนำไปเพาะบนจานเพาะเชื้อที่มีอาหารแข็ง จากนั้นทำการทดลองโดยใช้อนุภาคระดับนาโนแคลเซียมไฮดรอกไซด์ในชิ้นรากฟันที่เตรียมจากฟันกรามน้อยล่างที่เพาะเลี้ยงแผ่นชีวภาพระหว่าง E. faecalis, S. gordonii และ C. albicans ที่อัตราส่วน1:1:1 เป็นระยะเวลา 21 วัน โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม (กลุ่มละ 10 ซี่) กลุ่มที่ 1 คือกลุ่มที่ทดสอบด้วยอนุภาคระดับนาโนแคลเซียมไฮดรอกไซด์ กลุ่มที่ 2 คือกลุ่มที่ทดสอบด้วยแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Metapaste®) เป็นตัวเปรียบเทียบ กลุ่มที่ 3 คือกลุ่มที่ทดสอบด้วยคลอเซกซิดีน และกลุ่มที่ 4 คือกลุ่มที่ทดสอบด้วยน้ำเกลือ ยาจะถูกใส่เป็นเวลา 7 วัน จากนั้นผงฟันจะถูกเก็บจากการกรอเพื่อนำไปวัดปริมาณเชื้อที่เหลืออยู่ และส่องดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราด ในส่วนที่ 2 ทำการศึกษาผลต่อการยับยั้งการเกิดเซลล์สลายกระดูก โดยใช้วิธีวิธีย้อมแทรป (Tartrate-resistant acid phosphatase staining) โดยการนำเซลล์ไลน์แมคโครฟาจหนูเพาะเลี้ยงลำดับที่ 3-5 ร่วมกับ receptor activator of nuclear factor-‐κB ligand (RANKL) ในสภาวะ 3 แบบ ได้แก่ อาหารเซลล์ปกติ (กลุ่มควบคุม), แคลเซียมไฮดรอกไซด์ และอนุภาคระดับนาโนแคลเซียมไฮดรอกไซด์ เป็นระยะเวลา 7 วัน เซลล์ที่ติดสีและมีนิวเคลียสมากกว่า 3 อัน จะถูกนับเป็นเซลล์สลายกระดูกที่ถูกสร้างสมบูรณ์ นอกจากนี้ทำการทดสอบความเป็นพิษของยาต่อเซลล์โดยใช้วิธีเอ็มทีที ((3-(4,5-dimethylthiazol-2-yl)-2,5-diphenyltetrazolium bromide assay; MTT assay) ผลการศึกษา: อนุภาคระดับนาโนแคลเซียมไฮดรอกไซด์และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ให้ผลค่าความเข้มข้นต่ำสุดในการยับยั้งการเจริญของแผ่นชีวภาพที่ร้อยละ 50 ที่อัตราส่วน 1:128 ของความเข้มข้นผลิตภัณฑ์ และค่าความเข้มข้นต่ำสุดของอนุภาคระดับนาโนแคลเซียมไฮดรอกไซด์ที่ฆ่าแผ่นชีวภาพคืออัตราส่วน 1:16 ของความเข้มข้นผลิตภัณฑ์ ในขณะที่แคลเซียมไฮดรอกไซด์จะอยู่ที่อัตราส่วน 1:8 ของความเข้มข้นผลิตภัณฑ์ สำหรับผลจากการทดสอบในชิ้นรากฟันที่บรรจุแผ่นชีวภาพผสม 21 วันพบว่า ปริมาณเชื้อที่หลงเหลืออยู่น้อยที่สุดคือในกลุ่มที่ทดสอบด้วย คลอเฮกซีดีน ตามด้วยอนุภาคระดับนาโนแคลเซียมไฮดรอกไซด์ แคลเซียมไฮดรอกไซด์และน้ำเกลือ ตามลำดับ โดยประสิทธิภาพในการกำจัดเชื้อ E. faecalis, S. gordonii และ C. albicans ของอนุภาคระดับนาโนแคลเซียมไฮดรอกไซด์มีประสิทธิภาพสูงกว่าแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (p < 0.05) แต่ไม่แตกต่างเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มคลอเฮกซิดีน และจากการส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ชนิดส่องกราดพบว่าในกลุ่มอนุภาคระดับนาโนแคลเซียมไฮดรอกไซด์ รูปร่างของแผ่นชีวภาพถูกทำลาย และปรากฏลักษณะของซากเชื้อและจากการศึกษาเซลล์ไลน์แมคโครฟาจหนูเพาะเลี้ยงร่วมกับ RANKL และอนุภาคระดับนาโนแคลเซียมไฮดรอกไซด์พบเซลล์สลายกระดูกปริมาณน้อยกว่ากลุ่มควบคุมและมีขนาดที่เล็กกว่า อีกทั้งพบว่ายาไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์เมื่อทดสอบความเป็นพิษของยาต่อเซลล์โดยใช้วิธีเอ็มทีที สรุปผลการศึกษา: อนุภาคระดับนาโนแคลเซียมไฮดรอกไซด์มีประสิทธิภาพในการกำจัดเชื้อ E. faecalis, S. gordonii และ C. albicans ที่อยู่ในรูปแบบแผ่นชีวภาพผสม และสามารถยับยั้งกระบวนการเกิดเซลล์สลายกระดูกได้ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอนุภาคระดับนาโนแคลเซียมไฮดรอกไซด์นี้มีศักยภาพในการใช้เป็นยาใส่ในคลองรากฟันเพื่อรักษาฟันที่มีการติดเชื้อซ้ำ ที่พบการอักเสบบริเวณปลายรากฟันรวมถึงมีการละลายของรากฟันจากร่วมด้วย | en_US |
Appears in Collections: | DENT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650931020-PATARAWADEE PROMTA.pdf | 32.2 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.