Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80161
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย | - |
dc.contributor.author | เมภิชา แบรซซิงตั้น | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-15T10:39:08Z | - |
dc.date.available | 2024-11-15T10:39:08Z | - |
dc.date.issued | 2567-08-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80161 | - |
dc.description.abstract | This independent study aimed to study the factors which affecting the success of the Maize Production Group Community Enterprise. Data was collected from a sample group of community enterprise members in the positions of Community Enterprise President, Community Enterprise Vice President, and Community Enterprise Committee. This group included the Khao Ruak Patana Kaoklai large-scale maize farm Community Enterprise, Lam Sonthi District, Lop Buri Province; the Shop large-scale maize farm Community Enterprise, Lop Buri Province; the Nong Yang Suea Sub-District large-scale maize farm Community Enterprise, Saraburi Province and the Ra Reng large-scale maize farm Community Enterprise, Nakhon Ratchasima Province. The data collection instruments were a study of secondary data on the operations of the enterprises, semi-structured interviews using open-ended questions and observation of community enterprise members. The results of the study found that the factors affecting the success of the 4 groups of Maize Production Community Enterprises had general background information as follow: most of them had been registered as community enterprises since 2017, had several thousand rai of agricultural land, had applied for GAP standards as a sole owner to certify that they were animal feed corn producers who met the standards, and had signed MOUs with leading external companies. In terms of the potential of community enterprises, according to the concept of analyzing business potential using the SWOT analysis, it was found that the strength of the group was the expertise in growing corn and field crops. The group had good quality management and received GAP standards for producing good quality products. The weakness was the quality improvement. Commonly, for agricultural products after harvesting must go through a quality improvement process. And currently they use the sunlight to reduce the moisture off the corn to improve the quality. The opportunity was the demand for maize products in the pet food industry. There was still a high demand in the market. The threat were the uncontrollable weather conditions, epidemics and pests. Including with the insufficient and small harvesters, which limited the amount of work per unit and the inability to expand production capacity. By using the strategies according to the TOWS Matrix situation found that maize production with quality and GAP standards was consistent with high market demand and continue to grow. According to the concept of analyzing the business environment using the PESTEL analysis, it was found that the factors that promotes community enterprises was Political, Technological, Legal and Environmental. There was Zero Waste production support, helping to promote the activities that allow farmers to plow and bury stumps to prevent burning, leaving no waste that had negatively effects on the environment. In terms of community enterprise management, it was found that the concept of managing operations to prepare for the assessment of the organization's potential, in terms of organizational structure, factors that can replace the products of the enterprise group, in order to be able to deal with problems and obstacles that may arise in the future. The process of quality management in form of PDCA, the inventory management, the break-even point analysis to be able to manage in a cost-effective inventory management, listen to suggestions and opinions of member in the community in order to develop, improve and solve problems for optimal efficiency. In terms of sustainability, it was found that the community enterprise had a clear environmental policy, with accountability for the environment, society and corporate governance. The enterprise had a procedure in place to handle potential issues, the restoration of the environment that was affected by the business operations of the enterprise, setting a fair and equitable human resource management policy, consistency promoted and developed employees, and also provided the opportunities for communities in which the enterprise and community were involved to grow sustainably. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของวิสาหกิจชุมชน กลุ่มผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ | en_US |
dc.title.alternative | Factors contributing to success of maize production community enterprises | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | วิสาหกิจชุมชน | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้าวโพด | - |
thailis.controlvocab.thash | อาหารสัตว์จากข้าวโพด | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โดยทำการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นสมาชิกในกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนตำแหน่งประธานวิสาหกิจชุมชน รองประธานวิสาหกิจชุมชน และกรรมการ วิสาหกิจชุมชน อันประกอบไปด้วย วิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ข้าวโพดเขารวกพัฒนาก้าวไกล อำเภอลำสนธิ จังหวัดลพบุรี วิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ข้าวโพดช็อป จังหวัดลพบุรี วิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ตำบลหนองย่างเสือ จังหวัดสระบุรี และวิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ระเริง จังหวัดนครราชสีมา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิการดำเนินงานของวิสาหกิจและทำการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง โดยใช้รูปแบบคำถามปลายเปิดและมีการสังเกตการณ์สมาชิก วิสาหกิจชุมชน ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ทั้ง 4 กลุ่ม มีข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์คือ จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนส่วนใหญ่ตั้งแต่ 2560 มีพื้นที่ทางการเกษตรหลายพันไร่ มีการขอมาตรฐาน GAP ข้าวโพดรายเดี่ยวเพื่อเป็นเอกสารรับรองว่าเป็นผู้มีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ได้มาตรฐาน และมีการทำสัญญาซื้อขาย MOU กับ บริษัทชั้นนำภายนอก ด้านศักยภาพของวิสาหกิจชุมชน ตามแนวคิดการวิเคราะห์ศักยภาพธุรกิจโดยใช้แบบวิเคราะห์ SWOT พบว่ามีจุดแข็ง คือ มีความชำนาญในการปลูกข้าวโพดและพืชไร่ ทางกลุ่มมีการบริหารงานทางด้านคุณภาพ และได้รับมาตรฐาน GAP เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดี มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน มีจุดอ่อน คือ การปรับปรุงคุณภาพ โดยปกติสินค้าทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยวจะต้องเข้าสู่กระบวนการปรับปรุงคุณภาพก่อน โดยปัจจุบันยังใช้ขั้นตอนการปรับปรุงคุณภาพด้วยแสงแดดอยู่เพื่อลดความชื้น มีโอกาส คือความต้องการข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์เลี้ยง ตัวสินค้ายังมีปริมาณความต้องการในท้องตลาดเป็นจำนวนมาก และมีอุปสรรค์คือ สภาพภูมิอากาศที่แปรผันส่งผลให้ผลผลิตลดลง ปัญหาโรคระบาด และศัตรูพืช จำนวนเครื่องเก็บเกี่ยวไม่เพียงพอและมีขนาดเล็ก ทำให้ปริมาณงานต่อหน่วยเวลาทำได้จำกัด ไม่สามารถขยายกำลังการผลิตได้ การเลือกใช้กลยุทธ์ตามสถานการณ์แบบ TOWS Matrix พบว่า การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ได้คุณภาพ มาตรฐาน GAP สอดคล้องกับความต้องการของตลาดสูงและเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ตามแนวคิดการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมธุรกิจโดยใช้แบบวิเคราะห์ PESTEL พบว่า สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนคือ ด้านการเมือง ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎระเบียบ และด้านสิ่งแวดล้อม มีการส่งเสริมการผลิตแบบ Zero Waste เพิ่มกิจกรรมที่ให้เกษตรกรไถกลบตอซัง เพื่อหยุดการเผา ไม่เหลือของเสียที่ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมได้ดี ด้านการบริหารวิสาหกิจชุมชน พบว่า แนวคิดการจัดการการปฏิบัติการ มีวิธีการเตรียมความพร้อมในการประเมินศักยภาพขององค์กรในด้านของโครงสร้างองค์กร ปัจจัยที่จะสามารถเข้ามาทดแทนผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจ เพื่อที่จะสามารถตั้งรับต่อปัญหาและอุปสรรคที่คาดว่าจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต กระบวนการบริหารงานคุณภาพในรูปแบบ PDCA การบริหารสินค้าคงคลังและการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน เพื่อที่จะสามารถบริหารจัดการสินค้าคงคลังได้อย่างคุ้มค่า มีการรับฟังถึงข้อเสนอแนะ และความคิดเห็นของคนในชุมชน เพื่อนำมาพัฒนาปรับปรุงและแก้ไขให้เกิดประสิทธิภาพได้อย่างสูงสุด ด้านความยั่งยืน พบว่า มีการกำหนดนโยบายกับสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน โดยมีความ รับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาลของวิสาหกิจชุมชน คือมีกระบวนการทำงาน ในวิสาหกิจเพื่อจัดการกับปัญหาที่อาจเกิดขึ้น และมีการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ได้รับ ผลกระทบจากการดำเนินธุรกิจของวิสาหกิจ กำหนดนโยบายบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างเป็นธรรม และเท่าเทียมกันมีการส่งเสริมพัฒนาพนักงานอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเปิดโอกาสให้ชุมชนที่วิสาหกิจ ชุมชนมีความเกี่ยวข้องให้ติบโตไดอ้ย่างยั่งยืน | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
641532060-เมภิชา แบรชซิงตั้น.pdf | 2.07 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.