Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80148
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมเกียรติ อินทสิงห์ | - |
dc.contributor.advisor | ศักดา สวาทะนันทน์ | - |
dc.contributor.author | พงษ์พิพัฒน์ พันธุ์สุข | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-12T01:38:03Z | - |
dc.date.available | 2024-11-12T01:38:03Z | - |
dc.date.issued | 2024-09-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80148 | - |
dc.description.abstract | The Objectives of this research were 1) to develop a learning unit integrating artificial intelligence with Alberta's inquiry model to enhance the reading and media literacies of Grade 6 students, 2) to study the reading literacy of grade 6 students after learning from the learning unit integrating artificial intelligence with Alberta's inquiry model, and 3) to study the media literacy for grade 6 students after learning from the learning unit integrating artificial intelligence with Alberta's inquiry model. The population and samples used in the research consisted of 7 experts in integrated learning unit development and 44 grade 6/2 students from The Prince Royal's College School, Mueang district, Chiang Mai Province. They were chosen by cluster random sampling. The instruments used in the research were a learning unit integrating artificial intelligence with Alberta's inquiry model, a quality assessment form of a learning unit, a reading literacy assessment form, and a media literacy assessment form. Data were analyzed using arithmetic means, standard deviations, percentages, and t-test. The results revealed the following: 1) The learning unit integrating artificial intelligence with Alberta's inquiry model to enhance the reading and media literacies of grade 6 students consisted of the following components: 1) the name of the learning unit, 2) the structure of the learning unit, 3) learning activities, 4) artificial intelligence used in learning management, 5) learning measurement and evaluation, and 6) a learning management plan. Overall, the propriety level in the quality of the learning unit was at the highest level. (mean = 4.57, standard deviation 0.55). 2) Students' reading literacy after studying with the learning unit integrating artificial intelligence with Alberta's inquiry model was at a very good level, with a mean of 26.57 and a standard deviation of 1.63. This represents 88.57 percent, which is higher than the criterion set of 80 percent at the .01 level of confidence. 3) Students' media literacy after studying with the learning unit integrating artificial intelligence with Alberta's inquiry model was at a very good level, with a mean of 4.41 and a standard deviation of 0.64. This represents 88.25 percent, which is higher than the criterion set of 80 percent at the .01 level of confidence. | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ปัญญาประดิษฐ์ | - |
dc.subject | การรู้เท่าทันสื่อ - เชียงใหม่ | - |
dc.subject | การศึกษาขั้นประถม - เชียงใหม่ | - |
dc.title | การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการปัญญาประดิษฐ์ร่วมกับรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตาเพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้ด้านการอ่าน และการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 | en_US |
dc.title.alternative | Development of learning unit integrating artificial intelligence with Alberta's inquiry model to enhance reading and media literacies of grade 6 students | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการปัญญาประดิษฐ์ร่วมกับรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตาที่ส่งเสริมความฉลาดรู้ด้านการอ่านและการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) เพื่อศึกษาความฉลาดรู้ด้านการอ่านของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังจัดการเรียนรู้โดยใช้หน่วยการเรียนรู้บูรณาการปัญญาประดิษฐ์ร่วมกับรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตา และ 3) เพื่อศึกษาการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังจัดการเรียนรู้โดยใช้หน่วยการเรียนรู้บูรณาการปัญญาประดิษฐ์ร่วมกับรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตา ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ จำนวน 7 คน และนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 44 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ หน่วยการเรียนรู้บูรณาการปัญญาประดิษฐ์ร่วมกับรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตา แบบประเมินคุณภาพหน่วยการเรียนรู้ แบบวัดความฉลาดรู้ด้านการอ่านและแบบประเมินการรู้เท่าทันสื่อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละและค่าสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) หน่วยการเรียนรู้บูรณาการปัญญาประดิษฐ์ร่วมกับรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตาที่ส่งเสริมความฉลาดรู้ด้านการอ่านและการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประกอบด้วย 1) ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 2) โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ 3) ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4) ปัญญาประดิษฐ์ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ 5) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และ 6) แผนการจัดการเรียนรู้ โดยรวมมีคุณภาพด้านความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.57 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.55) 2) ความฉลาดรู้ด้านการอ่านของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังจากจัดการเรียนรู้โดยใช้หน่วยการเรียนรู้บูรณาการปัญญาประดิษฐ์ร่วมกับรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตา โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ย 21.57 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.63) คิดเป็นร้อยละ 86.28 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) การรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังจากจัดการเรียนรู้โดยใช้หน่วยการเรียนรู้บูรณาการปัญญาประดิษฐ์ร่วมกับรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตา โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ย 4.41 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.64) คิดเป็นร้อยละ 88.25 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesis_650232009_Pongpipat_watermark.pdf | 10.97 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.