Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80139
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เขมกร ไชยประสิทธิ์ | - |
dc.contributor.author | รัญชิตา โอวรารินท์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-05T02:19:48Z | - |
dc.date.available | 2024-11-05T02:19:48Z | - |
dc.date.issued | 2024-09-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80139 | - |
dc.description.abstract | The objective of this independent study is to develop a business plan for an organic agriculture tourist attraction in Pa Sang District, Lamphun Province. The research encompasses an analysis of the external and internal environments, as well as market analysis, whichincludes data collected from interviews with eight general consumers whoare tourists interested in agricultural tourism, along with insights from Mrs. Jaruwan Ovararint, Managing Director of Chita Organic Food Co., Ltd. Theresults of the study can be summarized as follows: The appropriate strategy for Chita Organic Farm, under Chita Organic Food Co., Ltd., is a differentiation strategy. This will leverage the company's strengths in consumer confidence stemming from experience in organic agriculture and international organic certification. Additionally, it aims to create social and cultural value through its strong networks with local farmers and communities, beautiful locations, and a diverse range of products and services offered at the tourism site. From the marketing aspect, the primary target customers are health-conscious individuals who recognize the value of products and services derived from organic agriculture within the community. They are interested in health care and tourism that blends nature with relaxation, andthey have a middle to high income that allows them to accept the pricing of products and services. The secondary target group comprises local residents who appreciate and see the value in products and services that promote sustainability and environmental preservation within their communities. The marketing strategy to enhance the reputation and recognition of “Chita Organic Farm” will focus on online channels through social media, including the use of influencers who will visit the farm and create related content. An average budget of 30,000 Baht per month will be allocated for the first year. From the management and operational planning aspect, the development of the tourism site will involve the allocation of space for demonstration plots, recreational gardens, and swimming areas. Management will include staff recruitment and the arrangement of spaces within the restaurant and retail areas. The decoration and seating layout will reflect the organic farming concept, alongside employee training initiatives. From the accounting and finance aspect, the project requires an initial investment of 8,084,171 Baht, with a payback period of 4 years and 5 months. The net present value is estimated at 133,989 Baht, and the internal rate of return is 10.54%. Therefore, the investment in this project is deemed acceptable. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แผนธุรกิจสำหรับแหล่งท่องเที่ยวเกษตรอินทรีย์ อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Business plan for organic agricultural tourist attractions, Pa Sang district, Lamphun province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวเชิงเกษตร -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | เกษตรอินทรีย์ -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวโดยชุมชน -- ลำพูน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแผนธุรกิจสำหรับแหล่งท่องเที่ยวเกษตรอินทรีย์ อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ได้รวบรวมข้อมูลจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกภายใน การวิเคราะห์การตลาด ซึ่งรวมถึงข้อมูลจากในการสัมภาษณ์เป็นผู้บริโภคนักท่องเที่ยวทั่วไปที่นิยมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร จำนวน 8 ท่านและคุณจารุวรรณ โอวรารินท์ กรรมการผู้จัดการบริษัท ชิตาออร์แกนิค ฟู้ด จำกัด สามารถสารถสรุปผลการศึกษาได้ ดังนี้ ด้านกลยุทธ์ที่เหมาะสำหรับไร่ชิตา ออร์แกนิค ภายใต้ บริษัทชิตาออร์แกนิค ฟู้ด คือ กลยุทธ์สร้างความแตกต่าง (Differentiation) ผ่านจุดแข็งด้านความเชื่อมั่นจากประสบการณ์ด้านเกษตรอินทรีย์และการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ระดับสากลและการสร้างคุณค่าทางสังคมและวัฒนธรรมผ่านจุดแข็งด้านเครือข่ายเกษตรกรและชุมชนชนท้องถิ่น ด้านทำเลที่ตั้งและวิวทิวทัศน์ที่สวยงามและความหลากหลายของสินค้าและบริการในแหล่งท่องเที่ยว ด้านการตลาด กลุ่มลูกค้าเป้าหมายหลักคือกลุ่มรักสุขภาพ เนื่องจากเห็นถึงคุณค่าของผลิตภัณฑ์และบริการที่มาจากเกษตรอินทรีย์และชุมชนให้ความสนใจในการดูแลสุขภาพและการท่องเที่ยวที่ผสมผสานระหว่างธรรมชาติกับการพักผ่อน มีรายได้กลางถึงสูงสามารถยอมรับราคาสินค้าและบริการได้และกลุ่มลูกค้ารองคือกลุ่มคนท้องถิ่น เนื่องจากให้ความสำคัญและเห็นถึงคุณค่าของผลิตภัณฑ์และบริการที่มาจากธรรมชาติและชุมชนท้องถิ่นที่ช่วยส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่นให้มีความยั่งยืนและรักษาสิ่งแวดล้อม เดินทางสะดวก กลยุทธ์ในการส่งเสริมการตลาดเพื่อสร้างชื่อเสียงและการเป็นที่รู้จักของไร่เกษตรอินทรีย์ “ชิตาออร์แกนิค” ช่องทางออนไลน์ ผ่านสื่อโซเชียลมีเดีย รวมการการใช้ Influencer เข้ามาเยี่ยมชมไร่และสร้างเนื้อหาที่เกี่ยวกับไร่ผ่านช่องทางออนไลน์ ด้านการจัดการและการวางแผนการปฏิบัติงาน การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวจัดสรรพื้นที่แปลงสาธิต สวนพักผ่อนและสระน้ำและการบริหารจัดการด้วยการจัดหาพนักงานและการจัดวางพื้นที่ภายในส่วนร้านอาหารและขายสินค้า การตกแต่งร้านและการวางพื้นที่นั่งให้ตรงและเหมาะสมกับความเป็นเกษตรอินทรีย์และการฝึกอบพนักงาน ด้านบัญชีและการเงิน พบว่า โครงการมีเงินลงทุนเริ่มแรกเท่ากับ 8,084,171 บาท ระยะเวลาคืนทุน 4 ปี 5 เดือน มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ 133,989 บาท และมีอัตราผลตอบแทนภายในเท่ากับร้อยละ 10.53 จึงยอมรับการลงทุนโครงการนี้ | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631532139 รัญชิตา โอวรารินท์ (ลายน้ำ).pdf | 29.25 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.