Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80136
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรพล ยะมะกะ | - |
dc.contributor.advisor | ภารวี มณีจักร | - |
dc.contributor.author | กัญสุดา ปันแกว่น | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-10-25T10:08:22Z | - |
dc.date.available | 2024-10-25T10:08:22Z | - |
dc.date.issued | 2024-10-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80136 | - |
dc.description.abstract | Several countries around the world are experiencing rapid changes in the age structure of their population, particularly the increasing proportion of elderly people. There is growing awareness of saving and investment behavior in the life cycle hypothesis, which may have differing impacts on global financial markets. Therefore, to understand the clear impact of aging populations on stock markets, research has focused on studying the group of countries that are more globally represented. The objective of this study is to examine and compare the impact of aging populations on stock markets using panel data. Annual data from 1991 to 2020 will be considered for 10 countries, categorized according to their economic development. Use the panel ARDL model with a fixed effect estimation to test the relationship of the proportion of elderly people in the population with the stock market, including comparing the impact of the proportion of elderly people changing with the stock market. The results of this study reveal that an increasing elderly population has a statistically significant positive impact on stock market indices, both in the global context and in developed countries. In contrast, in developing countries and economies in transition countries, the proportion of elderly people does not have a significant impact on the stock market index. This highlights the varying influences of demographic factors on stock market performance across different stages of economic development, with other variables such as interest rates, gross savings rates, consumer price index, and GDP per capita playing more significant roles in economies in transition. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ผลกระทบของสังคมผู้สูงอายุที่มีต่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก | en_US |
dc.title.alternative | An Analysis of the effects of aging society on global stock markets | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ผู้สูงอายุ -- แง่สังคม | - |
thailis.controlvocab.thash | ตลาดหลักทรัพย์ | - |
thailis.controlvocab.thash | หลักทรัพย์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | หลายประเทศทั่วโลกเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอายุของประชากรอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสัดส่วนประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้น ได้ตระหนักถึงพฤติกรรมการออมและการลงทุนตามสมมติฐานวงจรชีวิตที่อาจส่งผลกระทบต่อตลาดสินทรัพย์ทั่วโลกในลักษณะที่แตกต่างกัน ดังนั้น เพื่อให้เห็นถึงความชัดเจนของผลกระทบการสูงวัยของประชากรที่มีต่อตลาดหุ้น การวิจัยได้มุ่งเน้นศึกษากลุ่มประเทศที่ครอบคลุมระดับโลกมากขึ้น การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบและเปรียบเทียบผลกระทบของประชากรผู้สูงอายุที่มีต่อตลาดหุ้น โดยใช้ข้อมูลพาแนล แบบรายปี ตั้งแต่ปีพ.ศ.2534 ถึง ปีพ.ศ.2563 พิจารณา 10 ประเทศจากกลุ่มประเทศที่มีการแบ่งตามการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ใช้แบบจำลอง Panel ARDL ด้วยวิธี Fixed Effect สำหรับทดสอบความสัมพันธ์ของสัดส่วนผู้สูงอายุต่อประชากรกับตลาดหุ้นรวมถึงเปรียบเทียบผลกระทบจากสัดส่วนผู้สูงอายุที่เปลี่ยนแปลงไปกับตลาดหุ้นในกลุ่มประเทศที่มีการแบ่งตามการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ผลการศึกษา พบว่าจำนวนประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้นมีผลกระทบเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อดัชนีตลาดหุ้นทั้งในบริบททั่วโลกและในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว ขณะที่ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาและกลุ่มประเทศที่อยู่ในระหว่างการเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจ สัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุไม่มีผลกระทบที่สำคัญต่อดัชนีตลาดหุ้น สิ่งนี้เน้นให้เห็นถึงอิทธิพลที่แตกต่างกันของปัจจัยทางประชากรศาสตร์ต่อการดำเนินงานของตลาดหุ้นในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยที่ตัวแปรอื่น ๆ เช่น อัตราดอกเบี้ย อัตราการออมรวม ดัชนีราคาผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัวประชากร มีบทบาทสำคัญมากกว่าในกลุ่มประเทศที่อยู่ในระหว่างการเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจ | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
641631004-กัญสุดา ปันแกว่น.pdf | 3.3 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.