Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80132
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กนกพร นิวัฒนนันท์ | - |
dc.contributor.advisor | ชิดชนก เรือนก้อน | - |
dc.contributor.author | พีรดา เกตุวีระพงศ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-10-22T10:30:42Z | - |
dc.date.available | 2024-10-22T10:30:42Z | - |
dc.date.issued | 2020-12-21 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80132 | - |
dc.description.abstract | The objective of this randomized controlled trial was to assess the effects of pharmaceutical care on appropriateness of medication prescribing for elderly patients using Screening Tool of Older People’s Prescriptions (STOPP) version 2 and American Geriatrics Society (AGS) Beers Criteria 2015 (Beers criteria 2 0 1 5 ) as tools to perform pharmaceutical care by identifying potentially inappropriate medications (PIMs). 234 cases of elderly patients with chronic diseases and attending chronic disease clinics at Uttaradit hospital were included and randomized to either intervention group, receiving pharmaceutical care or control group, receiving usual care. There was a difference in proportion of patients having PIMs between the intervention and control groups. The patients in intervention group was 0.22 times less likely to have a list of PIMs (adjusted OR = 0.22, 95% CI: 0.06-0.78, p = 0.019) compared to those in the control group. In comparison, the proportion of patients having PIMs identified by Beers criteria 2015 was greater than those identified by STOPP criteria version 2 in each visit. The top three of PIMs found in this study were Lorazepam, Omeprazole and Doxazosin. Physician’s acceptance to pharmacist recommendations increased from 20.5% in second follow-up visit to 41.3% in the third. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลของการบริบาลทางเภสัชกรรมต่อความเหมาะสมในการสั่งใช้ยาสำหรับผู้ป่วยสูงอายุที่มารับการรักษา ณ โรงพยาบาลอุตรดิตถ์: การศึกษาเชิงทดลองแบบสุ่ม | en_US |
dc.title.alternative | Effects of pharmaceutical care on appropriateness of medication prescribing for elderly patients treated at Uttaradit Hospital: a randomized controlled trial | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ | - |
thailis.controlvocab.thash | เภสัชกรรม | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้สูงอายุ -- การใช้ยา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วัตถุประสงค์ของการศึกษาทางคลินิกแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมนี้คือเพื่อประเมินผลของการให้ บริบาลทางเภสัชกรรมต่อความเหมาะสมในการสั่งใช้ยาสำหรับผู้ป่วยสูงอายุ โดยใช้ Screening tool of older people's prescriptions (STOPP) criteria version 2 uล: American Geriatrics Society (AGS) Beers Criteria 150 Beers criteria 2015 มาเป็นเครื่องมือของการให้บริบาลทางเภสัชกรรมใน การพิจารณารายการยาที่อาจไม่เหมาะสม (Potentially inappropriate medications: PIMs) lunau ผู้ปัวยสูงอายุที่มีโรคเรื้อรังและรับยาต่อเนื่อง ที่คลินิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ จำนวน 234 ราย ถูกสุ่มเข้าไปในกลุ่มทดลองซึ่งได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมหรือกลุ่มควบคุมที่ได้รับการบริการตาม แนวทางปกติ ผลการศึกษาพบความแตกต่างของสัดส่วนของผู้ป่วยที่ได้รับรายการยาที่เป็น PIMs ระหว่าง กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยผู้ป่วยในกลุ่มทดลองมีโอกาสได้รับรายการยาที่เป็น PIMs คิดเป็น 0.22 min (adiusted OR = 0.22, 95%CI: 0.06-0.78, = 0.019) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม และเมื่อ เปรียบเทียบสัดส่วนของผู้ป่วยที่พบรายการยาที่เป็น PIMs ในแต่ละนัดพบว่าการใช้ใช้เกณฑ์ Beers criteria 2015 จะพบรายการยาที่ไม่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยสูงอายุได้มากกว่าการใช้เกณฑ์ STOPP criteria version 2 โดย PIMs ที่พบการสั่งใช้มากเป็นอันดับค้นในการศึกษานี้ คือ Lorazepam, Omeprazoleและ Doxazosin สำหรับการตอบรับของแพทย์ต่อต่อข้อเสนอแนะของเภสัชกรพบว่าเพิ่มขึ้นจากการตรวจ ในครั้งที่ 2 (ร้อยละ 20.5) เป็น ร้อยละ 41.3 ในการตรวจรั้งที่ 3 ผลจากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าการบริบาลทางเภสัชกรรมต่อความเหมาะสมในการสั่งใช้ยา สำหรับผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการรักษาต่อเนื่องในโรงพยาบาลอุตรดิตถ์โดยใช้ Beers criteria 2015 และ STOPP criteria version 2 ทำให้สามารถค้นหาและลดการสั่งใช้ยาที่เป็น PIMs ได้ รวมทั้งใช้เป็น แนวทางในการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยสูงอายุและผู้ดูแล รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ ร่วมกันดูแลการใช้ยาของผู้สูงอายุให้ปลอดกัดและและมีประสิทธิภาพต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | PHARMACY: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
591031003 พีรดา เกตุวีระพงศ์.pdf | 3.12 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.