Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80112
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฏิเวธ วุฒิสารวัฒนา-
dc.contributor.authorสาริศ เทพพิทักษ์en_US
dc.date.accessioned2024-10-21T10:39:46Z-
dc.date.available2024-10-21T10:39:46Z-
dc.date.issued2024-08-15-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80112-
dc.description.abstractOral cancer is a life-threatening disease. In the early stage, the symptom usually appears as an oral potentially malignant disorder (OPMD). If the lesions spread out and are left untreated, there will be a considerable chance of progressing to oral cancer. In such a case, it will be more difficult to treat, the chance of survival is dim, and the cost of treatment is much higher. Early detection of oral lesions can bring patients into appropriate treatment, which in turn reduces the mortality rate. Additionally, we found that oral public health personnel usually encounter a critical problem when performing the oral lesion screening for elderly people on site. During the operation, the personnel have to take patient’s oral images and sort them into standard views. The work is difficult because there are a large number of photographic images by the end of the day. In this study, we developed an artificial intelligence (AI) to automatically classify oral photographic images to standard views. Also, to better serve the dentist, we developed segmentation algorithms of oral lichen planus lesions, and a generative AI to synthesize realistic oral lesions for improving the performance of the segmentation algorithm. The results show that the classification and segmentation algorithms performed remarkably with the blind dataset. Moreover, the generative AI of CycleGANs and the novel blending algorithm was able to generate realistic lesions that experts could not even distinguish between the real and fake. Finally, we found that data augmenting with the synthesized images could improve the performance of the lesion segmentation. We believe this study will lay a significant foundation for the development of oral lesion screening systems for Thai people and the world.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเพิ่มข้อมูลภาพด้วยวิธีการเรียนรู้เชิงลึกเพื่อปรับปรุงการแบ่งส่วนรอยโรคไลเคนแพลนัสในภาพถ่ายช่องปากen_US
dc.title.alternativeImage data augmentation using deep learning approach for improving Lichen Planus Segmentation in oral imagesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashไลเคนแพลนัส-
thailis.controlvocab.thashช่องปาก -- มะเร็ง-
thailis.controlvocab.thashการประมวลผลภาพ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคมะเร็งช่องปากเป็นโรคร้ายแรงถึงชีวิต ในระยะเริ่มต้นมักปรากฏเป็นรอยโรคความผิดปกติเสี่ยงมะเร็งช่องปาก หากมีการลุกลามโดยไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง รอยโรคดังกล่าวมีโอกาสสูงสำหรับการพัฒนาเป็นรอยโรคมะเร็งช่องปาก ซึ่งรักษายากและมีค่าใช้จ่ายเป็นอันมาก ส่งผลให้ผู้ป่วยมีโอกาสการเสียชีวิตสูง หากตรวจพบรอยโรคในระยะเริ่มต้น ผู้ป่วยจะเข้าสู่กระบวนการรักษาที่ทันเวลา ส่งผลให้มีอัตราการเสียชีวิตลดลง นอกจากนี้ ผู้วิจัยได้พบประเด็นปัญหาของการลงพื้นที่ทันตบุคลากรเพื่อตรวจคัดกรองรอยโรคช่องปาก คือ การจัดกลุ่มถ่ายภาพช่องปากมีความยากลำบากเนื่องจากมีจำนวนข้อมูลที่มาก ดังนั้น งานวิจัยนี้ผู้วิจัยจึงเสนอ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์สำหรับการจัดกลุ่มภาพถ่ายช่องปากให้เป็นหมวดหมู่ตามมุมมองมาตรฐานอย่างอัตโนมัติ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ทันตบุคลากรให้ปฏิบัติหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้น ผู้วิจัยได้เสนอพัฒนาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เพื่อแบ่งส่วนรอยโรคชนิดไลเคนแพลนัสในช่องปาก และเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ช่วยสร้างเพื่อสังเคราะห์รอยโรคในช่องปากที่สมจริงและนำไปปรับปรุงการแบ่งส่วนรอยโรคให้มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น ผลการศึกษาพบว่า อัลกอริทึมการจัดกลุ่มภาพช่องปากสู่มุมมองมาตรฐานและอัลกอริทึมการแบ่งส่วนรอยโรคสามารถทำงานกับข้อมูลที่ไม่เคยเห็นมาก่อนได้อย่างดีเยี่ยม รวมถึงปัญญาประดิษฐ์ช่วยสร้างที่ใช้อัลกอริทึม CycleGANs และอัลกอริทึมผสมภาพสามารถสังเคราะห์รอยโรคที่สมจริงจนผู้เชี่ยวชาญไม่สามารถแยกแยะภาพจริงออกจากภาพสังเคราะห์ได้ และผู้วิจัยยังพบว่าภาพสังเคราะห์ที่ได้สามารถนำไปฝึกสอนอัลกอริทึมการแบ่งส่วนรอยโรคให้มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น ท้ายที่สุดนี้ ผู้วิจัยมีความเห็นว่างานวิจัยนี้จะเป็นรากฐานสำคัญต่อการศึกษาและพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองรอยโรคในช่องปากของประชาชนชาวไทยและต่างประเทศต่อไปen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640631152_Sarit_Theppitak.pdf11.64 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.