Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80100
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNaruanard Sarapaivanich-
dc.contributor.advisorPitima Diskulnetivitya-
dc.contributor.advisorAmonlaya Kosaiyakanont-
dc.contributor.authorJiradacha Wanchuplowen_US
dc.date.accessioned2024-10-15T00:50:54Z-
dc.date.available2024-10-15T00:50:54Z-
dc.date.issued2024-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80100-
dc.description.abstractThis dissertation examines the impact of auditors' aesthetic appearance, competence, psychological distance, and auditor gender on clients' perceptions of audit quality within the context of non-listed companies in Thailand. Employing a mixed-methods approach, the study integrates qualitative insights from semi-structured interviews with quantitative data from a questionnaire-based survey. The findings highlight that aesthetic appearance significantly affects perceived auditor competence, which in turn influences perceived audit quality. Psychological distance, exacerbated by the COVID-19 pandemic, negatively impacts client perceived audit quality. Gender differences between an auditor and client also intensify the influence of auditor appearance on perceived audit quality. The study offers practical recommendations for audit firms to enhance auditor training and development, focusing on improving aesthetic appearance to meet client expectations. It also calls for greater attention to the prospect challenges from the remote audit circumstance faced by audit firms in Thailand, emphasizing the need for tailored audit strategies and practices in order to survive in the new normal.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleInfluence of psychological distance and auditor gender on the relationship between aesthetic appearance of auditors and perceived audit quality of non-listed enterprises in Thailanden_US
dc.title.alternativeอิทธิพลของระยะห่างทางจิตวิทยาและเพศของผู้สอบบัญชีที่มีต่อความสัมพันธ์ระหว่างรูปลักษณ์ภายนอกของผู้สอบบัญชีและการรับรู้คุณภาพการสอบบัญชีของกิจการในประเทศไทยที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshAuditors-
thailis.controlvocab.lcshBehavioral assessment-
thailis.controlvocab.lcshPsychology-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาผลกระทบของรูปลักษณ์ภายนอก ความสามารถ และเพศของผู้สอบบัญชี รวมถึงระยะห่างทางจิตวิทยา ที่มีผลต่อการรับรู้คุณภาพการสอบบัญชีของของกิจการนอกตลาดทุนในประเทศไทย โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน การศึกษานี้ได้นำข้อมูลเชิงคุณภาพจากวิธีสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง บรูณาการรวมกับข้อมูลเชิงปริมาณที่ได้จากแบบสอบถาม โดยผลการวิจัยได้แสดงให้เห็นว่ารูปลักษณ์ภายนอกของผู้สอบบัญชีมีผลอย่างมีนัยสำคัญต่อการรับรู้ความสามารถของผู้สอบบัญชี ซึ่งจะส่งผลต่อการรับรู้คุณภาพการสอบบัญชี นอกจากนี้ ระยะห่างทางจิตวิทยามีผลกระทบเชิงลบต่อการรับรู้คุณภาพการสอบบัญชี โดยที่ความแตกต่างทางเพศระหว่างผู้สอบบัญชีกับผู้รับบริการสอบบัญชี ยังเพิ่มอิทธิพลของรูปลักษณ์ภายนอกของผู้สอบบัญชีที่มีต่อการรับรู้คุณภาพการสอบบัญชีอีกด้วย การศึกษานี้ยังได้มีข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติสำหรับสำนักงานสอบบัญชีเพื่อให้มีการยกระดับการฝึกอบรมและพัฒนาผู้สอบบัญชี โดยเน้นที่การพัฒนาให้มีรูปลักษณ์ภายนอกที่ดีขึ้น เพื่อตอบสนองความคาดหวังของผู้รับบริการได้ นอกจากนี้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ยังได้กระตุ้นให้สำนักงานสอบบัญชีมีการให้ความสนใจมากขึ้นต่อความท้าทายอันอาจเกิดจากสถานการณ์การตรวจสอบระยะไกล ที่สำนักงานสอบบัญชีในประเทศไทยต้องเผชิญ โดยเน้นให้สำนักงานสอบบัญชีให้ความสำคัญถึงความจำเป็นในการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์และแนวทางปฏิบัติในการสอบบัญชี เพื่อให้สามารถอยู่รอดในการแข่งขันในสภาวะปัจจุบันได้en_US
Appears in Collections:BA: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621551003_JIRADACHA WANCHUPLOW.pdf3.13 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.