Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80073
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Pinyaphat Khamphikham | - |
dc.contributor.advisor | Pimlak Charoenkwan | - |
dc.contributor.advisor | Alisa Tubsuwan | - |
dc.contributor.author | Varit Jan-ngam | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-10-06T09:10:11Z | - |
dc.date.available | 2024-10-06T09:10:11Z | - |
dc.date.issued | 2024-07-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80073 | - |
dc.description.abstract | Reactivation of fetal hemoglobin (HbF, α2γ2) potentially alleviates clinical presentations of β-thalassemia. Prolyl hydroxylase domain enzymes (PHDs) play roles in the canonical oxygen-sensing pathway and maintain the stability of cellular hypoxia-inducible factor α (HIF-α) in response to low oxygen levels or hypoxia. Pharmacological inhibition of PHDs has been shown to increase HbF production in erythroid progenitors derived from non-thalassemia individuals. This study demonstrated the relationship between PHD2, the main PHD isoform, and clinical phenotypes in β0-thalassemia/HbE disease. Although exome sequencing annotated three insignificance variants in EGLN1, the PHD2 encoding gene, CRISPR-mediated EGLN1 silencing led to increased HBG (γ-globin) mRNA and HbF expression in β0-thalassemia/HbE hematopoietic stem/progenitor cells. Moreover, HbF induction after EGLN1 silencing was independent to the two well-known HbF regulators including BCL11A and GATA1. These findings introduce an additional mechanism for HbF regulation in β-thalassemia and propose that targeting the canonical oxygen-sensing pathway, particularly PHD2, may offer a promising novel therapeutic strategy to β-thalassemia diseases. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | β-thalassemia | en_US |
dc.subject | EGLN1 gene | en_US |
dc.subject | CRISPR/Cas9 | en_US |
dc.title | Functional study of EGLN1 gene in β-thalassemia hematopoietic stem and progenitor cells using CRISPR/Cas9 | en_US |
dc.title.alternative | การศึกษาหน้าที่ของยีนอีจีแอลเอ็นวันในเซลล์ต้นกำเนิดและเซลล์ตัวอ่อนเม็ดเลือดจากผู้ป่วยโรคบีตาธาลัสซีเมียโดยใช้คริสเปอร์คาสไนน์ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Thalassemia | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Hemoglobin | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Blood proteins | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การกระตุ้นสร้างฟีทัลฮีโมโกลบินหรือฮีโมโกลบินเอฟ (HbF, α2β2) สามารถบรรเทาอาการทางคลินิกในผู้ป่วยโรคบีตาธาลัสซีเมียได้ เอนไซม์กลุ่มโปรลิวไฮดรอกซิเลสโดเมนหรือพีเอชดี (Prolyl hydroxylase domain enzymes, PHDs) เป็นกลุ่มเอนไซม์ที่มีบทบาทสำคัญในวิถีออกซิเจนเซนซิง (Oxygen-sensing pathway) และช่วยคงเสถียรภาพของโปรตีนไฮพอกเซียอินดิวซิเบิลแฟกเตอร์แอลฟาหรือฮิฟแอลฟา (Hypoxia-inducible factor α, HIF-α) ในระดับเซลล์ภายใต้สภาวะที่มีออกซิเจนต่ำ จากการศึกษาก่อนหน้าพบว่าการใช้ยายับยั้ง PHDs สามารถเพิ่มการสร้างฮีโมโกลบินเอฟในเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดของคนปกติที่ไม่เป็นโรคธาลัสซีเมียได้ ดังนั้นการศึกษานี้สนใจศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโปรตีนพีเอชดีทู (PHD2) ซึ่งเป็นโปรตีนหลักในกลุ่ม PHDs และอาการแสดงทางคลินิกในผู้ป่วยโรคบีตาซีโรธาลัสซีเมียร่วมกับฮีโมโกลบินอี แม้ว่าผลการศึกษาลำดับนิวคลีโอ-ไทด์ของยีนอีจีแอลเอ็นวัน (EGLN1) ซึ่งเป็นยีนที่สร้างโปรตีน PHD2 ด้วยวิธีเอกโซมซีเควนซิง (Exome sequencing) จะพบการกลายพันธุ์เพียง 3 ชนิดที่ไม่ได้มีผลต่อหน้าที่ของโปรตีน PHD2 แต่จากผลการศึกษาการลดการแสดงออกของยีน EGLN1 โดยใช้เทคโนโลยีคริสเปอร์ (CRISPR) พบว่าสามารถเพิ่มการแสดงออกของแกมมาโกลบิน (γ-globin) ในระดับเอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA) และเพิ่มการแสดงออกของฮีโมโกลบินเอฟในเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดของผู้ป่วยโรคบีตาซีโรธาลัสซีเมียร่วมกับฮีโมโกลบินอี (β0-thalassemia/HbE disease) ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้พบว่าการเพิ่มขึ้นของปริมาณฮีโมโกลบินเอฟหลังจากการลดการแสดงออกของยีน EGLN1 นั้น ไม่ได้เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงระดับการแสดงออกของโปรตีนบีซีแอลอีเลเวนเอ (BCL11A) และกาตาวัน (GATA1) ซึ่งเป็นโปรตีนหลักที่ควบคุมการสร้างฮีโมโกลบินเอฟ จากผลการศึกษาทั้งหมดอาจกล่าวได้ว่าโปรตีน PHD2 ในวิถีออกซิเจนเซนซิงมีบทบาทสำคัญในการควบคุมการแสดงออกของฮีโมโกลบินเอฟในผู้ป่วยโรคบีตาธาลัสซีเมีย ดังนั้นการรักษาแบบมุ่งเป้าไปยังวิถีออกซิเจนเซนซิงโดยเฉพาะโปรตีน PHD2 จึงอาจเป็นอีกหนึ่งแนวทางการรักษาใหม่สำหรับผู้ป่วยโรคบีตาธาลัสซีเมีย | en_US |
Appears in Collections: | AMS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
651135907-Varit Jan-ngam.pdf | 4.52 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.