Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80042
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ทองท้วม-
dc.contributor.authorตะวัน สินตระกูลen_US
dc.date.accessioned2024-09-16T00:55:25Z-
dc.date.available2024-09-16T00:55:25Z-
dc.date.issued2024-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80042-
dc.description.abstractThe current situation of school standard classroom buildings has many types of standard classroom building styles. Depending on the area School size and number of students Some of the school buildings are standard school buildings that have been in use for a long time. And some buildings have not been modified or have additional designs? Moreover, in some areas, school buildings are unable to determine the direction of the building in selecting the direction from the sun's rays into the interior of the school building. As a result, some standard school buildings are affected by sunlight entering the building. This research aims to study the effect of the amount of light on the usable area from an experiment in designing bamboo sunshades with different weave patterns. And to propose guidelines for designing woven bamboo sunshades for classrooms according to Standard type It will study the design of the sunscreen panels and study the materials. Focusing on natural materials that can be easily found in the area, such as bamboo, woven to create designs for woven bamboo sunshade panels that can prevent the sun's rays from entering the building. Then, the designed sunshade pattern was tested as a guideline for designing a standard woven bamboo sunshade pattern for classroom with the building’s windows facing southwest. The results of the test revealed that the two tests that were selected were from every case study. A case study of a woven bamboo sunshade panel with a khat pattern. Sunscreen panels spaced at a distance of 8 cm will have the test results for an illuminance and the most appropriate standard deviation according to the standard criteria and the pattern of woven bamboo sunscreen panels with a Chalew pattern. Sunscreen panels spaced at a distance of 20 cm will have an illuminance and the standard deviation is close to the standard value. By presenting information comparing with the current building appearance together with explaining the evaluation.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสถาปัตยกรรมen_US
dc.subjectแผงกันแดดen_US
dc.subjectความส่องสว่างen_US
dc.subjectอาคารเรียนมาตรฐานen_US
dc.titleการศึกษาแนวทางการออกแบบรูปแบบลายแผงกันแดดไม้ไผ่สานสำหรับห้องเรียนตามแบบมาตรฐาน กรณีศึกษาอาคารเรียนในจังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeA Study of the design guidelines for bamboo weave sunshade patterns for a standard classroom case study of school building in Lamphunen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashอาคารโรงเรียน -- การออกแบบ-
thailis.controlvocab.thashอาคารโรงเรียน -- แสงสว่าง-
thailis.controlvocab.thashแสงอาทิตย์-
thailis.controlvocab.thashการก่อสร้างด้วยไม้ไผ่-
thailis.controlvocab.thashงานไม้ไผ่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractสถานการณ์ปัจจุบันอาคารเรียนมาตรฐานของโรงเรียนได้มีรูปแบบอาคารเรียนมาตรฐานหลากหลายประเภท โดยขึ้นอยู่กับพื้นที่ ขนาดของโรงเรียน และจำนวนนักเรียน ซึ่งอาคารเรียนบางแห่งเป็นอาคารเรียนมาตรฐานที่มีระยะเวลาใช้งานมาอย่างยาวนาน และอาคารบางแห่งไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนหรือมีการออกแบบเพิ่มเติมแต่อย่างไร อีกทั้งในบางพื้นที่อาคารเรียนไม่สามารถกำหนดทิศทางของตัวอาคารในการเลือกทิศทางจากแสงดวงอาทิตย์เข้าสู่ภายในตัวอาคารเรียนได้ จึงทำให้อาคารเรียนมาตรฐานบางแห่งได้รับผลกระทบจากแสงอาทิตย์ที่เข้าสู่ภายในตัวอาคาร งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของปริมาณแสงบนพื้นที่ใช้งานจากการทดลองออกแบบแผงกันแดดไม้ไผ่ที่มีรูปแบบลายสานแตกต่างกันและเพื่อเสนอแนวทางการออกแบบแผงกันแดดไม้ไผ่สานสำหรับห้องเรียนตามแบบมาตรฐาน โดยจะทำการศึกษารูปแบบแผงกันแดดและศึกษาเกี่ยวกับวัสดุ โดยเน้นที่วัสดุธรรมชาติที่สามารถหาได้ง่ายในพื้นที่ ได้แก่ ไม้ไผ่ มาทำการจักสานเพื่อทำการออกแบบรูปแบบลายแผงกันแดดไม้ไผ่สานที่สามารถป้องกันแสงจากดวงอาทิตย์ที่ส่งผลกระทบเข้าสู่ภายในตัวอาคาร จากนั้นจึงทำการทดสอบรูปแบบแผงกันแดดที่ได้รับการออกแบบเพื่อเป็นแนวทางออกแบบรูปแบบแผงกันแดดไม้ไผ่สานสำหรับห้องเรียนตามแบบมาตรฐานที่หันอาคารด้านหน้าต่างไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผลของการทดสอบพบว่าแบบทดสอบทั้ง 2 รูปแบบที่ทำการเลือกมานั้นมาจากทุกกรณีศึกษา โดยที่กรณีศึกษารูปแบบแผงกันแดดจักสานลายขัด แผงกันแดดเว้นระยะ 8 ซม. จะมีผลทดสอบค่าความส่องสว่างและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานที่เหมาะสมที่สุดตามเกณฑ์ค่ามาตรฐาน และ รูปแบบแผงกันแดดจักสานลายเฉลว แผงกันแดดเว้นระยะห่าง 20 ซม. จะมีค่าความส่องสว่างและค่าเบี่ยงเบนนั้นอยู่ใกล้เคียงกับเกณฑ์ค่ามาตรฐาน ด้วยการนำเสนอเป็นข้อมูลเปรียบเทียบกับรูปลักษณ์อาคารปัจจุบันร่วมกับการอธิบายการประเมินen_US
Appears in Collections:ARC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ตะวัน สินตระกูล 6531731005.pdf20.26 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.