Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80004
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.advisorแสวง แสนบุตร-
dc.contributor.authorชัยวัฒน์ แก้วดำen_US
dc.date.accessioned2024-08-28T01:30:47Z-
dc.date.available2024-08-28T01:30:47Z-
dc.date.issued2024-06-22-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80004-
dc.description.abstractThis study has three objectives: 1 examine the guideline for integrating civics in history learning management to promote digital citizenship through Vlog storytelling for high school students ; 2. Study the integrating civics in history learning management to promote digital citizenship through Vlog storytelling for high school students ; 3. Examine the impact of integrating civics in history learning management to promote digital citizenship through Vlog storytelling for high school students. The research population consists of 1) data providers, 2) guidelines evaluators, 3) guidelinesexperimental users. Research instruments include 1) documentary analysis form, 2) documentary summary form, 3) Index of Item Objective Congruence : IOC form, 4) quality Assessment form, 5) digital citizenship assessment form, and 6) Learner Satisfaction Survey Data are analyzed through Content Analysis then presented in Descriptive Analysis and analyzed the data with Statistical Program to determine mean and standard deviations. The study found that: 1. The study of civics-integrated history studies to promote digital citizenship through Vlog storytelling for high school students, called UBTE Model, which had four steps: 1. Understanding, 2. Building knowledge, 3. Taking action, and 4. Evaluation. The expert assessment was shown to have the highest level. Regarding the development of learning management guideline for civics-integrated history. 2. Regarding the development of learning management guideline for civics-integrated history studies to promote digital citizenship through Vlog storytelling for high school students, There were three learning units, and four learning management plans that were 14 hours in total with IOC index of 0.99. The IOC index of over 0.50 would be deemed satisfactory for application. The suitability score was found to be at the highest level. 3. Result of the learning management for civics-integrated history studies to promote digital citizenship through Vlog storytelling for high school students showed that the students had the highest digital citizenship score overall, and their satisfaction towards the learning activities was found to be high.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่บูรณาการหน้าที่พลเมือง เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลผ่านการเล่าเรื่องด้วยสื่อวีล็อกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายen_US
dc.title.alternativeIntegrating civics in history learning management to promote digital citizenship through Vlog storytelling for high school studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashหน้าที่พลเมือง-
thailis.controlvocab.thashประวัติศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashการเล่านิทาน-
thailis.controlvocab.thashสื่ออิเล็กทรอนิกส์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ 1. เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่บูรณาการหน้าที่พลเมือง เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลผ่านการเล่าเรื่องด้วยสื่อวีล็อกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2. เพื่อศึกษาการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่บูรณาการหน้าที่พลเมือง เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลผ่านการเล่าเรื่องด้วยสื่อวีล็อกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3. เพื่อศึกษาผลการใช้การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่บูรณาการหน้าที่พลเมือง เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลผ่านการเล่าเรื่องด้วยสื่อวีล็อกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ประชากรและกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 1) กลุ่มผู้ให้ข้อมูล 2) กลุ่มประเมินคุณภาพแนวทางการจัดการเรียนรู้ 3) กลุ่มทดลองใช้แนวทางการจัดการเรียนรู้ มีเครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบวิเคราะห์เอกสาร 2) แบบสังเคราะห์เอกสาร 3) แบบประเมินค่าดัชนีความสอดคล้อง 4) แบบประเมินคุณภาพ 5) แบบประเมินความเป็นพลเมืองดิจิทัล และ 6) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) นำเสนอในรูปแบบพรรณนา (Descriptive Analysis) และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยโปรแกรมทางสถิติเพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. การศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่บูรณาการหน้าที่พลเมือง เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลผ่านการเล่าเรื่องด้วยสื่อวีล็อกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นเรียกว่า รูปแบบยูบีทีอี (UBTE Model) มี 4 ขั้น ประกอบด้วยขั้นที่ 1 การสร้างความเข้าใจ(Understanding) ขั้นที่ 2 การสร้างความรู้ (Building knowledge) ขั้นที่ 3 การลงมือปฏิบัติ (Taking Action) ขั้นที่ 4 การประเมินผล (Evaluation) ซึ่งมีผลการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญอยู่ในระดับมากที่สุด 2. การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่บูรณาการหน้าที่พลเมือง เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลผ่านการเล่าเรื่องด้วยสื่อวีล็อกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้จำนวน 3 หน่วย แผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 4 แผน ใช้เวลาเรียนรู้ทั้งสิ้น 14 ชั่วโมง มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ภาพรวมอยู่ที่ 0.99 โดยพิจารณาว่าหากค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) มีค่า 0.50 ขึ้นไป ถือว่าสามารถนำ แผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ได้ และมีความเหมาะสมโดย ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3. การศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่บูรณาการหน้าที่พลเมือง เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลผ่านการเล่าเรื่องด้วยสื่อวีล็อกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนมีผลการประเมินความเป็นพลเมืองดิจิทัลในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และผลประเมินความพึงพอใจของนักเรียนยู่ในระดับความพึงพอใจมากen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232036 ชัยวัฒน์ แก้วดำ.pdf6.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.