Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79992
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณัฐพล แจ้งอักษร | - |
dc.contributor.author | ดวงนที พันตามน | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-08-27T00:34:31Z | - |
dc.date.available | 2024-08-27T00:34:31Z | - |
dc.date.issued | 2024-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79992 | - |
dc.description.abstract | This research aims to 1) Analyze the Factors Affecting Creative Teaching Innovation of Teachers in Competency–Based Curriculum, and 2) To propose guidelines for developing Creative Teaching Innovation of Teachers in Competency–Based Curriculum. The sample consists of 354 of Teachers in Competency–Based Curriculum Chiang Mai Education Sandbox Pilot Schools. The research instrument is a 5-level Likert scale questionnaire, which has a reliability score of .941 as measured by Cronbach’s alpha. Data analysis methods include percentage, mean, standard deviation, and regression analysis. The research results reveal that the factor with the most significant impact on creativity in teaching innovation, as determined by regression analysis, is the attitude towards the teaching profession (SAA-m). The factor of satisfaction with the role of administrators (SAB-m) has the second highest influence on Creative Teaching Innovation. Other significant factors include the personal characteristics of teachers (SPC-m) and satisfaction with the working environment (SWE-m), both of which significantly affect teachers' creative teaching innovation at the .05 level of statistical significance. These findings indicate that all six factors are crucial for the Creative Teaching Innovation of Teachers in Competency–Based Curriculum Chiang Mai Education Sandbox Pilot Schools. Developing teachers' creative teaching innovations in competency-based education curricula is crucial in the present and future. It requires support from various sectors, including fostering positive attitudes in teachers, using resources efficiently, clearly defining and implementing teaching innovations, and facilitating continuous learning exchanges and support from educational authorities. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์ด้านนวัตกรรมการสอนของครูในหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะโรงเรียนนําร่องพื้นที่นวัตกรรม จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Factors affecting creative teaching innovation of teachers in competency–based curriculum Chiang Mai education sandbox pilot schools | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ครู -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การสอน | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษา -- หลักสูตร | - |
thailis.controlvocab.thash | ความคิดสร้างสรรค์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมการสอนของครูในหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะ และ 2) เพื่อเสนอแนวทางในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมการสอนของครูในหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะ ตัวอย่างคือ ครูผู้สอนในโรงเรียนนำร่องพื้นที่นวัตกรรมในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 354 คน เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถาม แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 1 ฉบับ ซึ่งมีคุณภาพด้านความเที่ยง เมื่อพิจารณาจากค่า Cronbach’s alpha เท่ากับ .941 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ผลจากการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีผลความคิดสร้างสรรค์ด้านนวัตกรรมการสอนด้วยการวิเคราะห์ถดถอย (Regression Analysis) พบว่า ปัจจัยด้านเจตคติต่อวิชาชีพครู SAA-m มีขนาดอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ด้านนวัตกรรมการสอนของครูมากที่สุด ปัจจัยด้านความพึงพอใจในบทบาทของผู้บริหาร SAB-m มีอิทธิพลต่อผลความคิดสร้างสรรค์ด้านนวัตกรรมการสอนรองลงมา ส่วนปัจจัยด้านคุณลักษณะส่วนบุคคลของครู SPC-m , ความพึงพอใจในสภาพแวดล้อมในการทำงาน SWE-m มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ด้านนวัตกรรมการสอนของครู อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 แสดงให้เห็นว่า ปัจจัยทั้ง 6 ปัจจัยมีความสำคัญต่อความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมการสอนของครูในโรงเรียนนำร่องพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษา การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมการสอนของครูในหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะมีความสำคัญอย่างยิ่งในปัจจุบันและอนาคต จะต้องอาศัยการสนับสนุนจากหลายภาคส่วน ทั้งการสร้างเจตคติที่ดีในครู การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ การพิจารณาและปฏิบัตินวัตกรรมการสอนอย่างชัดเจน รวมถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640232046 ดวงนที พันตามน.pdf | 21.05 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.