Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79980
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมพ์ชนก เครือสุคนธ์-
dc.contributor.authorภานุวัฒน์ ตะเภาen_US
dc.date.accessioned2024-08-20T00:50:49Z-
dc.date.available2024-08-20T00:50:49Z-
dc.date.issued2024-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79980-
dc.description.abstractThis research has two objectives: (1) to study the relationship between work from home, job autonomy, and happiness at work, and (2) to examine the mediating role of job autonomy in the relationship between work from home. The research design is correlational. The sample consists of 340 private company employees with working from home experience. The research instruments include a personal characteristics questionnaire, a work from home questionnaire, a job autonomy questionnaire, and a happiness at work questionnaire. Data analysis involved calculating Pearson correlation coefficients, multiple regression analysis using Baron and Kenny's (1986, cited in Kenny, 2014) Causal Steps method, and Sobel’s test for the final step. The research findings are as follows: 1. Work from home significantly predicts happiness at work at the .001 level, with a coefficient of .400. 2. Job autonomy significantly predicts happiness at work at the .001 level, with a coefficient of .311. 3. Work from home significantly predicts job autonomy at the .001 level, with a coefficient of .213. 4. Working from home predicts happiness at work among private sector employees,with job autonomy partially mediating the relationship.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานที่บ้านและความสุขในการทำงาน: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความมีอิสระในงานen_US
dc.title.alternativeRelationship between work from home and happiness at work : Mediating role of job autonomyen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashสภาพแวดล้อมการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashการทำงานทางไกล-
thailis.controlvocab.thashความพอใจในการทำงาน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานที่บ้าน ความมีอิสระในงาน และความสุขในการทำงาน (2) เพื่อศึกษาบทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความมีอิสระในงานในความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานที่บ้าน รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ พนักงานบริษัทเอกชนที่มีประสบการณ์ทำงานที่บ้าน จำนวน 340 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย แบบสอบถามคุณลักษณะส่วนบุคคล แบบสอบถามการทำงานที่บ้าน แบบสอบถามความมีอิสระในงาน และแบบสอบถามความสุขในการทำงาน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธี Causal Steps ของ Baron and Kenny (1986 อ้างถึงใน Kenny,2014) และการคำนวณค่าสถิติของโซเบล (Sobel’s test) ในขั้นตอนสุดท้าย ผลการวิจัยพบว่า 1.การทำงานที่บ้านสามารถทำนายการมีความสุขในการทำงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.001 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ.400 2.ความมีอิสระในงานสามารถทำนายการมีความสุขในการทำงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.001 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ.311 3.การทำงานที่บ้านสามารถทำนายความมีอิสระในงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.001 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ.213 4.การทำงานที่บ้านมีอำนาจการทำนายความสุขในการทำงานของพนักงานเอกชน โดยมีความมีอิสระในงานเป็นตัวแปรสื่อบางส่วนen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620135035-ภานุวัฒน์ ตะเภา.pdf3.57 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.