Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79968
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณพร คลังเพชร อุเอโนะ-
dc.contributor.authorจิตรลดา ณ ลำพูนen_US
dc.date.accessioned2024-08-11T12:48:16Z-
dc.date.available2024-08-11T12:48:16Z-
dc.date.issued2024-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79968-
dc.description.abstractThe objective of this research was to study the condition for malting process from barley variety Samoeng 1 for prebiotic-fortified malt beverage production and to optimize a high-pressure processing (HPP) using a Box-Behnken experimental design and response surface method with three independent variables including pressure, holding time, and initial temperature then compare with a heat pasteurization. The surrogate bacterial strains used in this study were Escherichia coli K12 and Listeria innocua. As a result, the malting was successfully performed with soaking and air-rest (soaking/air-rest) in 2 cycles, 5/16 and 4/24 hours at 14 °C, allowed to germinate for a period of 8 days, then dried and stored at 4 °C. In developing malt beverages, it was found that the appropriate amount of roasted malt and FOS syrup were 20 percent (w/w) and 10 (w/v), respectively. After that, the HPP was optimized as using a pressure of 600 MPa, a holding time of 6 minutes and an initial temperature of 24 °C. With the optimal condition, log reduction of E. coli K12 and L. innocua were exhibited as 5.92 ± 0.13 and 5.00 ± 0.01 CFU/mL, respectively, which passed the standard criteria of the Food and Drug Administration of Thailand. Furthermore, the factor significantly affecting the HPP efficiency (p<0.05) against both bacteria was pressure level. In addition, it was found that the HPP process was effective in reducing the total plate count and yeast and mold count, comparable to heat pasteurization. This allowed Samoeng barley malt drink supplemented with prebiotic to be stored for at least 77 days under a temperature of 8 °C. The developed product also provided physicochemical quality, color value, bioactive compounds, aroma volatile compounds and sensory qualities similar to the untreated sample.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleสภาวะที่เหมาะสมของกระบวนการความดันสูงในการยืดอายุการเก็บรักษาเครื่องดื่มมอลต์จากข้าวบาร์เลย์สายพันธุ์สะเมิงเสริมพรีไบโอติกen_US
dc.title.alternativeOptimization of High Pressure Process for Shelf-life Extension of Prebiotic-fortified Malt Beverage from Barley Variety Samoengen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashความดันสูง (วิทยาศาสตร์)-
thailis.controlvocab.thashข้าวบาร์เลย์ -- พันธุ์-
thailis.controlvocab.thashมอลต์-
thailis.controlvocab.thashเครื่องดื่ม-
thailis.controlvocab.thashโอลิโกแซ็กคาไรด์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะในกระบวนการเพาะงอกมอลต์จากข้าวบาร์เลย์สายพันธุ์สะเมิง 1 ในการพัฒนาเครื่องดื่มมอลต์เสริมพรีไบโอติกและเพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของกระบวนการความดันสูงเปรียบเทียบกับการพาสเจอไรซ์ด้วยความร้อน โดยแบคทีเรียที่ใช้ในการศึกษาสภาวะที่เหมาะสม ได้แก่ Escherichia coli K12 และ Listeria innocua เลือกใช้การวางแผนการทดลองแบบบ็อกซ์-เบห์นเคน ด้วยวิธีพื้นผิวตอบสนอง มีตัวแปรอิสระ 3 ตัวแปร ได้แก่ ความดัน ระยะเวลาและอุณหภูมิเริ่มต้น จากผลการทดลองพบว่าสภาวะการเพาะงอกมอลต์ที่เหมาะสมได้แก่การแช่น้ำท่วมสลับกับการผึ่งอากาศ (แช่น้ำท่วม/ผึ่งอากาศ) ใน 2 วัฏจักร ดังนี้ 5/16 ตามด้วย 4/24 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 14 °C จากนั้นปล่อยงอกต่อเป็นระยะเวลา 8 วันแล้วนำมาอบแห้งและเก็บรักษาจนกว่าจะนำไปทำเครื่องดื่ม ในการพัฒนาเครื่องดื่มมอลต์พบว่าปริมาณมอลต์คั่วและปริมาณน้ำเชื่อม FOS ที่เหมาะสม ได้แก่ ร้อยละ 20 (w/w) และ 10 (w/v) ตามลำดับ นอกจากนี้สภาวะที่เหมาะสมในการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์เป้าหมายด้วย HPP คือที่ความดัน 600 MPa ระยะเวลา 6 นาที และอุณหภูมิเริ่มต้น 24 °C โดยสามารถลดปริมาณเชื้อ E. coli K12 และ L. innocua ได้เท่ากับ 5.92 ± 0.13 และ 5.00 ± 0.01 log CFU/mL ตามลำดับ ซึ่งผ่านตามเกณฑ์ทั่วไปและขอบเขตผลิตภัณฑ์ที่ให้ใช้กระบวนการพาสเจอไรซ์ด้วยการใช้ความดันสูงที่กำหนดโดยกองอาหารสำนักงานอาหารและยาของประเทศไทย โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อการฆ่าเชื้อเป้าหมายทั้งสองสายพันธุ์อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) คือ ระดับความดัน นอกจากนี้พบว่ากระบวนการ HPP ณ สภาวะดังกล่าวมีประสิทธิภาพในการลดจำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมดและยีสต์ราเทียบเท่ากับการใช้ความร้อน ส่งผลให้เครื่องดื่มมอลต์จากข้าวบาร์เลย์สายพันธุ์สะเมิงเก็บรักษาได้อย่างน้อย 77 วัน ภายใต้อุณหภูมิ 8 °C ทั้งยังมีคุณภาพทางเคมีกายภาพ ค่าสี ปริมาณสารสำคัญ สารระเหยให้กลิ่น และคุณภาพทางประสาทสัมผัสใกล้เคียงกับตัวอย่างที่ไม่ผ่านกระบวนการen_US
Appears in Collections:AGRO: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651331007_จิตรลดา ณ ลำพูน.pdf7.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.