Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79946
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรวรรณ ธีระพงษ์-
dc.contributor.authorศรกมล อินทะเสนen_US
dc.date.accessioned2024-08-06T10:00:38Z-
dc.date.available2024-08-06T10:00:38Z-
dc.date.issued2024-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79946-
dc.description.abstractThis research aims to study the Health Belief Model of Undergraduate Students Ceasing Mindfulness Practice and employs a qualitative case study research design. The informants are five undergraduate students from Chiang Mai University who were enrolled in the academic years 2020 and 2021, and had previous experience with mindfulness practice but currently choose not to continue. Data was collected through in-depth interviews and analyzed using content analysis. The findings of the study reveal that: 1) the informants perceived stress from uncertain situations 2) the informants felt physical and emotional discomfort due to stress. 3) the informants acknowledge the advantages of mindfulness practice. 4) the informants perceived barriers to mindfulness practice, including: 4.1) the negative feeling and attitude towards mindfulness practice caused by a rigid practical experience as well as being criticized and forced by the school and family, and 4.2) there is lack of mindfulness practice understanding because they believe that mindfulness practice has fixed rules, procedures and methods. Occasionally, the formalized practice brings pain and tiredness and consumes the daily time 5) the informants recognize stimuli for mindfulness practice. 6) the informants recognize their abilities to practice mindfulness.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยที่ไม่เลือกฝึกสติต่อen_US
dc.title.alternativeHealth belief model of undergraduate students ceasing mindfulness practiceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- นักศึกษา-
thailis.controlvocab.thashสติ (จิตวิทยา)-
thailis.controlvocab.thashความเครียด (จิตวิทยา)-
thailis.controlvocab.thashสุขภาพ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยที่ไม่เลือกฝึกสติต่อ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษาผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในระดับปริญญาตรีที่ลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษา 2563 และ 2564 และมีประสบการณ์การฝึกสติ แต่ปัจจุบันไม่เลือกฝึกสติต่อ จำนวน 5 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกการวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้ให้ข้อมูลรับรู้ความบีบคั้นจากสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน 2) ผู้ให้ข้อมูลรับรู้ความไม่สุขกาย สบายใจ : ผลกระทบจากความบีบคั้น 3) ผู้ให้ข้อมูลรับรู้คุณประโยชน์ที่ดีของการฝึกสติ 4) ผู้ให้ข้อมูลรับรู้อุปสรรคขวางกั้นการฝึกสติ โดยมีประเด็นย่อย 4.1) ความรู้สึกทางลบและเจตคติที่ไม่ดีต่อการฝึกสติ อันเป็นผลมาจากประสบการณ์ที่เข้มงวด การถูกตำหนิและบังคับจากครอบครัวและโรงเรียน 4.2) ขาดความเข้าใจในเรื่องการฝึกสติที่ดีพอเนื่องจากมีมุมมองความคิดที่ว่าการฝึกสตินั้นมีกฎเกณฑ์ ระเบียบ แบบแผนที่ตายตัว บางครั้งการปฏิบัติตามแบบแผนทำให้เกิดความเจ็บปวดและเมื่อยล้า และการปฏิบัตินั้นต้องใช้เวลานาน เบียดบังเวลาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 5) ผู้ให้ข้อมูลรับรู้ถึงสิ่งเชื้อเชิญให้ฝึกสติ และ 6) ผู้ให้ข้อมูลรับรู้ว่าตนเองมีความสามารถในการฝึกสติen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620132030-ศรกมล อินทะเสน.pdf4.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.