Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79936
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุภาพร ชินชัย | - |
dc.contributor.advisor | กัลยาณี มกราภิรมย์ | - |
dc.contributor.advisor | วรรณนิภา บุญระยอง | - |
dc.contributor.advisor | กรรณิการ์ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ | - |
dc.contributor.author | ณวรา นพวัฒนากร | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-08-04T09:24:20Z | - |
dc.date.available | 2024-08-04T09:24:20Z | - |
dc.date.issued | 2567-06-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79936 | - |
dc.description.abstract | As individuals age, changes in their voice may occur, leading to voice disorders or dysphonia. These alterations can result from changes in the structure and function of vocal cords. Given the significance of acoustic voice parameters in identifying voice pathology and evaluating the progress of voice therapy, variations across genders and ages are also clearly evident. Prior to this study, no research had investigated acoustic voice parameters in the elderly Thai population. This study aims to fill this gap by investigating the acoustic voice parameters of older individuals in Chiangmai, Thailand, and comparing these parameters between normal and abnormal voice groups within the Thai elderly population. A total of 125 participants with normal voice and 45 participants with abnormal voice were included. Participants were specifically instructed to prolong the vowel /a/ for more than 3 seconds and read a Thai passage in a comfortable pitch and loudness for acoustic voice analysis using Praat software. The analysis was conducted separately for each gender and age group, categorized into three ranges (60-69, 70-79, and above 80 years old). The results were then compared between groups across genders. The findings revealed that in the normal group, the value of acoustic voice parameters in males was fundamental frequency (F0) = 130.73 ± 25.09 Hz, speaking fundamental frequency (SF0) = 126.68 ± 20.27 Hz, jitter local = 0.58 ± 0.37 %, shimmer local = 4.57 ± 2.58 %, harmonic to noise ratio (HNR) = 19.22 ± 3.65 dB, and mean intensity = 58.49 ± 3.63 dB. In females, the corresponding values were F0 = 184.72 ± 24.43 Hz, SF0 = 178.28 ± 18.95 Hz, jitter local = 0.43 ± 0.27 %, shimmer local = 3.60 ± 1.96 %, HNR = 20.69 ± 3.09 dB, and mean intensity = 57.40 ± 2.85 dB. A statistically significant difference was observed in acoustic voice parameters between the normal and abnormal voice groups. In males, significant differences were observed in F0 (mean difference = -27.18, 95% confidence interval = -46.91 to -7.44, P = 0.008), SF0 (mean difference = -40.79, 95% confidence interval = -61.55 to -20.03, P < 0.001), jitter local (median difference = -0.73, 95% confident interval = -1.48 to -0.37, P < 0.001), shimmer local (median difference = -4.01, 95% confident interval = -6.10 to -1.59, P = 0.002), and HNR (mean difference = 5.63, 95% confidence interval = 3.01 to 8.25, P < 0.001). In females, statistically significant differences were found in jitter local (median difference = -0.88, 95% confident interval = -1.74 to -0.35, P < 0.001) and mean intensity (mean difference = 2.10, 95% confidence interval = 0.05 to 4.14, P = 0.045). In summary, the data on acoustic voice parameters from older Thai individuals with normal voices can be applied to the broader population of older Thai individuals in Chiangmai. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การศึกษาค่าตัวแปรของเสียงพูดด้านกลศาสตร์ทางเสียงของผู้สูงอายุไทยในจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | The Study of acoustic voice parameters of Thai older people in Chiangmai | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ผู้สูงอายุ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การรับรู้เสียงพูดในผู้สูงอายุ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การรับรู้เสียงพูดในผู้สูงอายุ | - |
thailis.controlvocab.thash | การรับรู้เสียงพูด -- การทดสอบ | - |
thailis.controlvocab.thash | การรับรู้เสียงพูด | - |
thailis.controlvocab.thash | การอ่านออกเสียง | - |
thailis.controlvocab.thash | กลศาสตร์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | เมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ เสียงพูดอาจมีการเปลี่ยนแปลงหรือมีภาวะเสียงพูดผิดปกติ (voice disorders หรือ dysphonia) โดยมีสาเหตุจากการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างและการทำงานของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการออกเสียง ซึ่งการใช้ข้อมูลตัวแปรของเสียงพูดด้านกลศาสตร์ทางเสียง (acoustic voice parameters) เป็นหนึ่งในวิธีการระบุถึงพยาธิสภาพของเสียงพูดและใช้ประเมินผลสำเร็จของการฝึกพูด โดยตัวแปรของเสียงพูดด้านกลศาสตร์ทางเสียงนั้นมีความแตกต่างกันตาม เพศ วัย และความผิดปกติของเสียงพูด อย่างไรก็ตามยังไม่มีการศึกษาค่าดังกล่าวในผู้สูงอายุไทย งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าตัวแปรของเสียงพูดด้านกลศาสตร์ทางเสียงของผู้สูงอายุไทยในจังหวัดเชียงใหม่ และเปรียบเทียบค่าตัวแปรของเสียงพูดด้านกลศาสตร์ทางเสียงในผู้สูงอายุที่มีเสียงพูดปกติและผิดปกติ โดยศึกษาในกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุเสียงพูดปกติ 125 คน (เพศชาย 53 คน เพศหญิง 72 คน) และกลุ่มผู้สูงอายุเสียงพูดผิดปกติ 45 คน (เพศชาย 27 คน เพศหญิง 18 คน) กำหนดให้ผู้เข้าร่วมงานวิจัยทุกคนรับการบันทึกเสียงพูดโดยออกเสียงสระอาให้ยาวมากกว่า 3 วินาที และอ่านบทความ Passage I (ฝนฟ้า) ในระดับเสียงและความดังที่สบาย จากนั้นนำตัวอย่างเสียงพูดทั้งหมดไปวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม Praat จำแนกตามกลุ่มตัวอย่าง เพศและช่วงอายุ (60-69, 70-79 และ 80 ปีขึ้นไป) และนำผลที่ได้ของแต่ละกลุ่มตัวอย่างมาทำการเปรียบเทียบกันโดยจำแนกตามเพศ ผลการศึกษานำไปสู่ชุดข้อมูลค่าตัวแปรของเสียงพูดด้านกลศาสตร์ทางเสียงของกลุ่มผู้สูงอายุไทยในจังหวัดเชียงใหม่ที่มีเสียงพูดปกติจำแนกตามเพศและช่วงอายุ โดยกลุ่มผู้สูงอายุเพศชายมีค่าเฉลี่ยของ fundamental frequency (F0) = 130.73 ± 25.09 Hz, speaking fundamental frequency (SF0) = 126.68 ± 20.27 Hz, jitter local = 0.58 ± 0.37 %, shimmer local = 4.57 ± 2.58 %, harmonic to noise ratio (HNR) = 19.22 ± 3.65 dB และ mean intensity = 58.49 ± 3.63 dB สำหรับกลุ่มผู้สูงอายุเพศหญิงมีค่าเฉลี่ยของ F0 = 184.72 ± 24.43 Hz, SF0 = 178.28 ± 18.95 Hz, jitter local = 0.43 ± 0.27 %, shimmer local = 3.60 ± 1.96 %, HNR = 20.69 ± 3.09 dB และ mean intensity = 57.40 ± 2.85 dB และเมื่อเปรียบค่าตัวแปรดังกล่าวระหว่างกลุ่มผู้สูงอายุที่มีเสียงพูดปกติและกลุ่มผู้สูงอายุที่มีเสียงพูดผิดปกติ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับเพศชาย ได้แก่ F0 (mean difference = -27.18, 95% confident interval = -46.91 to -7.44, P = 0.008), SF¬0 (mean difference = -40.79, 95% confident interval = -61.55 to -20.03, P < 0.001), jitter local (median difference = -0.73, 95% confident interval = -1.48 to -0.37, P < 0.001), shimmer local (median difference = -4.01, 95% confident interval = -6.10 to -1.59, P = 0.002) และ HNR (mean difference = 5.63, 95% confident interval = 3.01 to 8.25, P < 0.001) และสำหรับเพศหญิง ได้แก่ jitter local (median difference = -0.88, 95% confident interval = -1.74 to -0.35, P < 0.001) และ mean intensity (mean difference = 2.10, 95% confident interval = 0.05 to 4.14, P = 0.045) สรุปได้ว่าค่าตัวแปรของเสียงพูดด้านกลศาสตร์ทางเสียงของกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุที่มีเสียงพูดปกติสามารถนำไปใช้อ้างอิงสำหรับประชากรผู้สูงอายุไทยในจังหวัดเชียงใหม่ได้ | en_US |
Appears in Collections: | AMS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
651131008-ณวรา นพวัฒนากร.pdf | 2.45 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.